ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อ
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
บทที่7 ช่องว่างองค์กร 12/9/05 ช่องว่างองค์กร.
การทำงานเชิงรุก การทำงานเชิงรุก
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.3 มีการกำหนดแผนกลยุทธ์ที่ เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน 1. เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง รับผิดชอบหลายด้าน.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบาย และแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ ด้านการพัฒนาเด็ก ตามแนวทาง “โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก” (พ.ศ )
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
1. แผนงาน PP จังหวัด ยังไม่ ตอบสนองปัญหาจริงของ จังหวัด แต่ละจังหวัดมีแผนที่ ชัดเจน และการใช้แผน แตกต่างกันมาก 2. การดำเนินงานจริง ไม่อิง ยุทธศาสตร์ /
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
กลุ่มที่ 1.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ดร.พรธิดา วิเศษศิลปานนท์
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
มุมมอง ผู้เยี่ยมสำรวจ fulltime
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ - แสดงให้ทุกคนเห็นว่าเป็นปัญหากลางต้อง ช่วยกันแก้ไข - แยกเป็นหน่วยงานหลัก หน่วยงานย่อยมี บทบาทอย่างไร - จัดทำเป็นลักษณะเครือข่ายชัดเจน - มุ่งเน้นการสนับสนุนให้หน่วยงานที่ รับผิดชอบด้านนี้จัดทำข้อ เสนอนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผน หรือ มาตรการที่ส่งผลกระทบ รุนแรงสอดคล้องกับความเป็นจริง

2. การพัฒนาระบบบริการ - ศึกษาข้อมูลว่ามีใครเข้าถึงระบบบริการที่จัดให้ จำนวน ความครอบคลุม กลุ่มตัวอย่างเขาคิดอย่างไร เพื่อประเมิน ย้อนหลังกิจกรรมที่เคยทำมา - เชิญจังหวัดมา Callaborate ช่วยกันหาสาเหตุที่ ไม่สามารถเข้าถึงบริการ Reproductive Health System

3. การพัฒนาศักยภาพ - การหาประสิทธิภาพการนำหลักสูตรไปใช้ - การทดสอบหลักสูตรก่อนนำไปใช้ - ประเมินผลหาความแตกต่างสำหรับกลุ่มที่ ได้ผล และไม่ได้ผล - หา Intervention ที่เหมาะสมที่สุดกับกลุ่ม - ควรปรับวิธีการสอนตลอดเวลา (Rolling Plan)

4. การพัฒนาฐานข้อมูล - ตีโจทย์ว่าอะไรคือฐานข้อมูล ที่บ่งชี้ สถานการณ์ - ระบุกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจนว่าอะไรคือกลุ่ม เสี่ยง ทำให้เป้าแคบลง คำนึงถึงเด็กในมิติและสภาพแวดล้อม ต่างๆ - ศึกษาสภาวะวิกฤตความต้องการของ กลุ่มเป้าหมาย - การ Implement แต่ละกลุ่มมีความแตกต่างกัน FC อาจใช้กับทุก กลุ่มไม่ได้

การติดตามประเมินผล เน้น 3 ประการ 1. การวิเคราะห์สภาพปัญหาและการดำเนินงานที่ ผ่านมาที่เป็นจริงให้เริ่มวิเคราะห์จาก Evidence Based หาจุดอ่อน จุดแข็งที่สามารถสะท้อนปัญหาแต่ละ ประเด็นเพื่อการวางแผนที่ชัดเจน 2. กระบวนการวางแผนแก้ปัญหาที่ใช้อยู่ แก้ปัญหา ได้จริงหรือ มีปัญหาเชิงบูรณาการ หรือไม่ 3. กระบวนการนำแผนไปสู่การปฏิบัติ มีกระบวนการ อย่างไร เกิดช่องว่างหรือไม่อย่างไร - ความเข้าใจของผู้ปฏิบัติงานระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล - ระบบข้อมูลที่ใช้ในการปฏิบัติงาน - ความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ - ความก้าวหน้าของการใช้จ่ายงบประมาณ ( ทุก แหล่ง )