ปิยะวดี รักหนองแซง และ อลิศรา เรืองแสง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 3 (ลำปาง) กรมป่าไม้
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
การใช้ถั่วมะแฮะในอาหารสุกรระยะเจริญเติบโต
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
2NO 2 = N 2 O 4 ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ทดลองเพื่ออะไร.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
นวัตกรรมน่ารู้ นางสาวสินีนาฎ อุ่นใจเพื่อน
งป. ทั้งหมด งป. เบิกจ่าย สวรส. วิท ย์ แพทย์สุขภา พจิต สบ ส. อนา มัย คร.คร. พัฒนฯอย , , ,061.3.
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
โลกร้อนกับการอนุรักษ์พลังงาน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
การทดสอบเลี้ยงต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงในดินชนิดต่างๆ
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
บทที่ 2 การผลิตและการส่งพลังงานไฟฟ้า.
การเสื่อมเสียของอาหาร
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2554 (ต.ค ธ.ค. 2553)
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
1 2 ตามลักษณะ เศรษฐกิจ งบประมา ณ ตาม พ. ร. บ. ( ล้าน บาท ) ได้รับ จัดสรร ( ล้าน บาท ) เบิกจ่าย ร้อย ละ / งบ จัดสร ร สำนัก ชลประทานที่ 13 1,164,64 0,305.
ตารางเปรียบเทียบ ปริมาณน้ำฝน - ปริมาณน้ำท่า กลุ่มลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโขง
เป้าเบิกจ่าย งบรวม เป้าเบิกจ่าย งบลงทุน งบรวม เบิกจ่าย.
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 2 พัฒนาและยกระดับมาตรฐานความปลอดภัย ด้านอาหาร เวชภัณฑ์ และสิ่งแวดล้อม พัฒนาและยกระดับมาตรฐานความปลอดภัย ด้านอาหาร เวชภัณฑ์ และสิ่งแวดล้อม.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
การจัดการน้ำเสียจากฟาร์มสุกร โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
นางสาวสุธาสินี ภัยชนะ
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
สามารถดำรงสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับแต่ละกลุ่มของจุลินทรีย์ได้
ดุลยภาพพลังงานของประเทศไทย(Energy Balance)
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
สำนักวิชาการและแผนงาน
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 4) พ. ศ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
ประชุมผู้บริหารกรม ทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 4/2550 วันศุกร์ที่ 27 เมษายน 2550 เวลา น.
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
ส่งสัญญาณ ผิดปกติ อุตสาหกรรมเส้นด้ายจากฝ้าย ส่งสัญญาณ ผิดปกติ ภาวะอุตสาหกรรมผ้าผืนอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม ส่งสัญญาณ ผิดปกติ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ มิถุนายน คะแนน ระดับดีมาก.
สรุปผลการดำเนินงาน (เบื้องต้น) ม. ค. - มิ. ย ของ อ. อ. ป
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
ขั้นตอนการจัดนักศึกษาเข้าสังกัดสาขาวิชา
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมในเดือน ม. ค. 56 เพิ่มขึ้น 2 %
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
การอบแห้งข้าวที่ผ่านการเคลือบผิวด้วยสารสกัดจากใบเตยด้วยวิธี ไมโครเวฟ
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
กราฟเบื้องต้น.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมตั้งแต่เดือน ม. ค. - ก. พ. 56 ลดลง 7 %
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนที่ 7
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปิยะวดี รักหนองแซง และ อลิศรา เรืองแสง การผลิตไฮโดรเจนจากน้ำบีบของเหลือทิ้งสับปะรดโดยแบคทีเรียสังเคราะห์แสงสายพันธุ์ Rhodospirillum rubrum โดย ปิยะวดี รักหนองแซง และ อลิศรา เรืองแสง

เกิดมลภาวะน้อยกว่าการใช้ เชื้อเพลิงจากซากดึกดำบรรพ์ Why hydrogen? เป็นแก๊สในอุดมคติ เกิดมลภาวะน้อยกว่าการใช้ เชื้อเพลิงจากซากดึกดำบรรพ์ หลังการเผาไหม้เกิดไอน้ำ

ประโยชน์ของไฮโดรเจน เซลล์เชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ เซลล์เชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้า ตัวทำปฏิกิริยาในกระบวนการผลิตไฮโดรเจน กำจัดออกซิเจนป้องกันการเกิดออกซิเดชัน เซลล์เชื้อเพลิงจรวด สารหล่อเย็นในเครื่องกำเนิดไฟฟ้า

การผลิตไฮโดรเจน การเกิด gasification ของถ่านหิน การเกิด steam reforming ของแก๊สธรรมชาติ การใช้ไฟฟ้าผลิตไฮโดรเจนจากน้ำ กระบวนการ photoelectrolysis การแตกตัวของน้ำโดยอาศัยความร้อน การผลิตไฮโดรเจนจากกระบวนการทางชีวภาพ

การผลิต H2 จากกระบวนการทางชีวภาพ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ผลิตได้จากทรัพยากรประเภทที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้ เป็นกระบวนการที่ไม่ใช้ออกซิเจน ผลิตได้โดยจุลินทรีย์หลากหลายประเภท เช่น แบคทีเรียสังเคราะห์แสง, สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน, สาหร่ายสีเขียว และ fermentative bacteria

กระบวนการหมักแบบไม่ใช้ออกซิเจน กลูโคสเปลี่ยนเป็น H2 และ VFAs โดยแบคทีเรียที่ไม่ต้องการ O2 C6H12O6 CH3CH2CH2COOH + 2CO2 + 2H2 C6H12O6 + 2H2O 2CH3COOH + 2CO2 + 4H2 VFAs เปลี่ยนเป็น H2 โดยแบคทีเรียสังเคราะห์แสง CH3COOH + 2 H2O 4H2 + 2CO2 CH3(CH2)COOH + 2 H2O 2H2 + 2CH3COOH + 2CO2

ทำไมต้องเป็นแบคทีเรียสังเคราะห์แสง ? เปลี่ยนสารตั้งต้นไปเป็น H2 yield สูง ปราศจาก O2 ซึ่งเป็นตัวยับยั้งกระบวนการหมักทางชีวภาพ รับพลังงานจากแสงได้หลายความยาวคลื่น ใช้สารตั้งต้นซึ่งเป็นสารอินทรีย์ประเภทของเสียและน้ำเสียร่วมกับการบำบัด

ทำไมต้องเป็นของเหลือทิ้งสับปะรด? เป็นของเหลือทิ้งประเภทแกนและเปลือกจากอุตสาหกรรมผลไม้กระป๋อง น้ำบีบจากของเหลือทิ้งสับปะรดประกอบด้วยน้ำตาลและกรดอินทรีย์ในปริมาณสูง

ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตไฮโดรเจน แหล่งคาร์บอนและแหล่งไนโตรเจน แสง รูปแบบการให้แสง ความเป็นกรด-ด่าง (pH) อุณหภูมิ

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ของเสียสับปะรดเพื่อผลิตไฮโดรเจนโดยแบคทีเรียสังเคราะห์แสง สายพันธุ์ R. rubrum - ปัจจัยที่ใช้ในการผลิตไฮโดรเจน ได้แก่ (1) total N (3 and 11 mM) (2) initial conc. of acetate and propionate (5, 10 and 20 mM) (3) light patterns continuous illumination (24 hours of light, 6000 lux) periodic illumination (12 hours light, 12 hours dark)

วิธีการทดลอง 40 ml (pH 7.0) Sterile at 110 oC for 10 min Illumination patterns continuous illumination periodic illumination Acetate and propionate: 5, 10 and 20 mM Total N: 3 and 11 mM

วิธีวิเคราะห์ข้อมูล VFAs (acetate, propionate, butyrate) by GC-FID Gas compositions (H2, CH4, CO2) by GC-TCD Glucose concentration by Somogi-Nelson method COD by closed reflux titrimetric method The total volume of biogas by water displacement in a burette Calculate the volume of H2 by using the mass balance eq. The cumulative H2 analyzed by the modified Gompertz eq.

ผลการวิจัย Compositions Values Glucose (mg/l) COD (mg/l) Acetate (mM) Table 1 The compositions of squeezed juice of pineapple waste Compositions Values Glucose (mg/l) COD (mg/l) Acetate (mM) Propionate (mM) Butyrate (mM) Lactate (mM) 63,600 34,000 5.28 1.92 5.33 22.45

Table 2 Kinetic parameters for hydrogen production from Table 2 Kinetic parameters for hydrogen production from squeezed juice of pineapple waste added with various initial acetate concentration at continuous light illumination Total N conc. (mM) Initial HAc  (h) Rm (ml/h) P (ml) Ps (ml H2/g COD) H2 yield (ml H2/g glucose) 3 11 5 10 20 0.25 0.42 0.80 0.70 2.20 0.90 4.29 4.2 3.78 4.7 6.65 5.31 121 177 149 218 211 278 89 130.25 109.5 160.25 155.25 204.5 44.25 64.75 54.5 79.75 77.25 101.75

Table 3 Kinetic parameters for hydrogen production from squeezed juice of pineapple waste added with various initial acetate concentration at periodic light illumination Total N conc. (mM) Initial HAc  (h) Rm (ml/h) P (ml) Ps (ml H2/g COD) H2 yield (ml H2/g glucose) 3 11 5 10 20 3.50 0.70 0.65 0.20 0.71 0.39 11.00 10.50 9.50 7.87 7.17 7.18 271 309 302 337 287 303 184.75 227.25 222 247.75 211 222.75 98.25 112 109.25 122 104 109.75

Table 4 Kinetic parameters for hydrogen production from squeezed juice of pineapple waste added with various initial propionate concentration at continuous light illumination Total N conc. (mM) Initial HPr  (h) Rm (ml/h) P (ml) Ps (ml H2/g COD) H2 yield (ml H2/g glucose) 3 11 5 10 20 2.50 0.83 0.10 7.30 3.80 3.90 5.01 2.65 4.20 3.20 181 225 125 111 194 133 165.5 92 81.5 142.25 66.25 82.5 45.75 40.75 71

Table 5 Kinetic parameters for hydrogen production from squeezed juice of pineapple waste added with various initial propionate concentration at periodic light illumination Total N conc. (mM) Initial HPr  (h) Rm (ml/h) P (ml) Ps (ml H2/g COD) H2 yield (ml H2/g glucose) 3 11 5 10 20 0.53 0.20 0.05 4.00 0.50 2.00 7.30 7.40 6.70 10.42 8.11 305 279 303 217 252 322 224.25 205.25 222.75 159.5 185.25 236.75 110.5 101 109.75 78.5 91.25 116.2

H2 H2 acetate propionate butyrate H2 accumulation glucose No. of cells H2 Figure 1 Effect of low level of total nitrogen (3 mM) and initial concentrations of propionate on hydrogen production by R. rubrum under periodic illumination.

H2 H2 acetate propionate butyrate H2 accumulation glucose No. of cells H2 Figure 2 Effect of high level of total nitrogen (11 mM) and initial concentrations of propionate on hydrogen production by R. rubrum under periodic illumination.

สรุปผลการวิจัย ระดับความเข้มข้นของไนโตรเจน(low 3 mM or high 11 mM) ไม่มีผลต่อการผลิตไฮโดรเจน จากน้ำบีบของเสียสับปะรดโดยแบคทีเรียสังเคราะห์แสงสายพันธุ์ R. rubrum แหล่งไนโตรเจน (ammonium sulfate) และแหล่งคาร์บอน (acetate and propionate) ที่เติมลงไปในน้ำบีบของเสียสับปะรดไม่ได้ถูกใช้ในการผลิตไฮโดรเจนโดยแบคทีเรียสังเคราะห์แสงสายพันธุ์ R. rubrum

สรุปผลการวิจัย (ต่อ) รูปแบบการให้แสงแบบ periodic illumination เกิดไฮโดรเจนมากกว่ารูปแบบการให้แสงแบบ continuous illumination น้ำบีบของเสียสับปะรดสามารถนำมาใช้ในการผลิตไฮโดรเจนโดยแบคทีเรียสังเคราะห์แสงสายพันธุ์ R. rubrum ได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่ต้องเติมแหล่งไนโตรเจนและแหล่งคาร์บอนอื่น

รศ.ดร.อลิศรา เรืองแสง อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ACKNOWLEDGEMENTS รศ.ดร.อลิศรา เรืองแสง อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน