การเสนอโครงการวิจัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
Advertisements

งานวิจัย ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มักเขียนผิด
2.5 Field of a sheet of charge
รายงานธุรกิจ.
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การทำทบทวนวรรณกรรมหรือวรรณกรรมปริทัศน์
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
จัดทำโดย นายวิทยา หาญอาษา และ นายธวัช มุดไธสง อาจารย์ที่ปรึกษา
การศึกษาและประยุกต์ใช้หน่วยการสร้างในขั้นตอนวิธีเชิงวิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูลเจเมทัล Study of Building-Box in Evolutionary algorithm in multi-objective.
นวัตกรรมน่ารู้ นางสาวสินีนาฎ อุ่นใจเพื่อน
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การวิจัย RESEARCH.
Laboratory in Physical Chemistry II
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ในวันหนึ่งๆสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
การเขียนรายงานการทดลอง
Pattern of injury in child fatalities resulting from child abuse
การวางแผนและการดำเนินงาน
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
การเขียนโครงร่างการวิจัย
Lab 4: Kunzelstab Penetration Test
(Applications of Derivatives)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
จากการสังเกต นำไปสู่คำถามวิจัย นำไปสู่สมมติฐาน
- Research Questions - Hypothesis & Testing Hypothesis
การเขียนรายงานการวิจัย
คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนาท
การเขียนรายงานการวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
นางสาวทัศนีย์ ศรีภุมมา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
จัดทำโดย นายศรัณยู ตรียะโชติ KKU นายธีรวัฒน์ ทองประมูล KMITL Position System ESTATE GROUP.
ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คณิตศาสตร์ ( ค 31101) กราฟและ การนำไปใช้
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเสนอโครงการวิจัย

น.อ.พีรพล อังศุธร

ที่มาและสาเหตุของปัญหา 1. ต้องการทราบว่ากราฟความสัมพันธ์ของค่า Parameter ทั้ง 4 ค่า คือ CBR, Bearing Value, K และ R Value ใช้ได้จริงหรือไม่ 2. การอ่านค่าจากกราฟความสัมพันธ์ได้ค่าที่ไม่ละเอียด เป็นค่าโดยประมาณ 3. สามารถที่จะแทนค่าลงในสมการความสัมพันธ์ แทนการอ่านจากกราฟความสัมพันธ์

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติการรับน้ำหนักของดินชนิดเดียวกัน โดยการทดลองหาค่า CBR , Bearing Value และ K 2 เพื่อเขียนสมการความสัมพันธ์ของค่า CBR , Bearing Value และ K 3 เพื่อศึกษารายละเอียดของเครื่องมือและวิธีการทดลองหาค่าความสามารถ ในการรับน้ำหนักของดินโดยวิธี Field CBR และ Plate Bearing

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1 สร้างสมการความสัมพันธ์ของค่า CBR , Bearing Value และ K 2 สามารถออกแบบพื้นถนนลาดยางโดยใช้ค่า CBR , Bearing Value และ K ได้ 3 สามารถแปลงค่า CBR เป็น Bearing Value และค่า K ได้

สมมติฐาน 1 ค่าความสามารถในการรับน้ำหนักของดินชนิดเดียวกัน ซึ่งทำการทดลอง ต่างวิธีกัน (CBR, Bearing Value, K) น่าจะมีความสัมพันธ์ ที่เกี่ยวข้องกัน 2 ค่าความสัมพันธ์ดังกล่าวสามารถเขียนสมการความสัมพันธ์และแปลงค่า จากค่าหนึ่งไปยังอีกค่าหนึ่งได้

ค่าที่ใช้ในการวิจัย 1. ค่า California Bearing Ratio ---> CBR (%) 2. ค่า Bearing Value (psi) 3. ค่า Modulus of Subgrade Reaction ---> K (pci)

Plate Bearing Test

Field CBR Test

Clegg Impact Soil Test

ผลการทดลอง Plate Bearing ของจุดที่ 1

ผลการทดลอง Plate Bearing ของจุดที่ 2

ผลการทดลอง Plate Bearing ของจุดที่ 3

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง CBR , Bearing Value , K และ R

CBR ---> K

CBR ---> Bearing Value

Bearing Value K ---> Bearing Value y = 35.104Ln(x) - 166.63 50 y = 35.104Ln(x) - 166.63 40 Bearing Value 30 y = 25.299Ln(x) - 109.1 20 10 100 200 300 400 500 Bearing experiment (psi) K Bearing reference (psi)

สรุปผลการวิจัย 1. สามารถนำค่า Parameter ทั้ง 3 ค่าคือ CBR, Bearing Value และ K ไปออกแบบพื้นทางถนนลาดยางได้ 2. จากผลการทดลองจะเห็นว่าค่า Parameter ทั้ง 3 ค่า มีความเกี่ยวข้องกันจริงและสามารถแปลงจากค่าหนึ่งไปเป็นอีกค่าหนึ่ง ได้ใกล้เคียงกับกราฟความสัมพันธ์ของค่า Parameter 3. สมการความสัมพันธ์ที่หาได้สามารถนำไปทดสอบค่าคงตัวของดิน ที่มีค่า CBR อยู่ในช่วง 25-45%

ข้อจำกัดและปัญหาในการวิจัย 1. เครื่องมือทดสอบค่า R Value ของภาควิชาวิศวกรรมโยธา โรงเรียนนายเรืออากาศ เสื่อมคุณภาพใช้งานไม่ได้ จึงไม่สามารถหาความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับค่า R Value ได้ 2. ในการทำการทดลอง Plate Bearing และ Field CBR จะต้องขอรับการสนับสนุน จากแผนกตรวจทดลองกรมช่างโยธาทหารอากาศ และกองสนามบิน ซึ่งการติดต่อเป็นไปได้ด้วย ความยากลำบากจึงทำให้ทดลองไม่ได้เต็มที่ 3. การทดลองแต่ละจุด จะต้องติดตั้งเครื่องมือใหม่ทุกครั้ง ซึ่งในการติดตั้งแต่ละครั้งใช้เวลานาน รวมถึงการทดลองแต่ละครั้งใช้เวลาค่อนข้างนานเช่นเดียวกัน 4 น้ำหนักของรถบรรทุกมีค่าน้อยเกินไปทำให้ต้องเสียเวลาในการทดสอบแต่ละจุดนานขึ้น 5 การทดลองได้ช่วงความสัมพันธ์ที่ได้ค่าความหนาแน่นของดินใกล้เคียงกัน ทำให้ความสัมพันธ์ที่ได้มีช่วงจำกัด

ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1 ซ่อมแซมเครื่องมือ Stabilometer เพื่อนำมาทดลองหาค่า R 2. วางแผนติดต่อขอรับการสนับสนุนจากแผนกตรวจทดลอง กรมช่างโยธาทหารอากาศ เพื่อทำการทดลองในช่วงที่ฝนไม่ตก และทำการทดลองให้มากขึ้น 3. เพิ่มน้ำหนักรถบรรทุกให้มีน้ำหนักอย่างต่ำ 20 ตัน เพื่อใช้เป็นแรงกด ในการทดสอบ Plate Bearing 4. ทำการทดลองที่จุดทดลองมีความหนาแน่นของดินแตกต่างกัน

ตอบข้อซักถาม