งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2 การวิเคราะห์ข้อสอบ คุณภาพ ของข้อสอบ ผลการตอบข้อสอบ ของผู้เรียน
1. ข้อสอบได้ทำหน้าที่ตามที่ครูตั้งใจไว้หรือไม่ * จำแนกนักเรียน เก่ง-อ่อน ได้หรือไม่ * วัดผลที่เกิดจากการเรียนการสอนได้ดีเพียงใด 2. ข้อสอบมีความยากพอเหมาะหรือไม่ 3. ข้อสอบไม่ถามนอกเรื่อง หรือมีข้อบกพร่อง หรือไม่ 4. ตัวลวงมีประสิทธิภาพเพียงใด

3 ประโยชน์ของการวิเคราะห์ข้อสอบ
1. ปรับปรุงข้อสอบ 2. อภิปรายผลการสอบของผู้เรียน 3. ทราบจุดอ่อนของผู้เรียน ช่วยการสอนซ่อมเสริม 4. ปรับปรุงการเรียนการสอน, หลักสูตร 5. เพิ่มทักษะการสร้างข้อสอบ

4 การวิเคราะห์ข้อสอบอิงกลุ่ม
1. ตรวจข้อสอบ 2. เรียงกระดาษคำตอบของ ผู้เรียน จากคะแนนรวมสูงไปต่ำ 3. แบ่งครึ่งกระดาษคำตอบ กลุ่มสูง/กลุ่มต่ำ 4. นับจำนวนผู้เรียนที่เลือกตอบตัวเลือก แต่ละตัวในกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำ 5. คำนวณค่าความยาก (P) ของข้อสอบ 6. คำนวณค่าอำนาจจำแนก (D) ของข้อสอบ 7. ประเมินประสิทธิภาพของตัวลวง

5 ค่าความยาก (P) สัดส่วนของผู้เรียนที่ตอบข้อสอบถูก
RH = จำนวนคนตอบถูกในกลุ่มสูง RL = จำนวนคนตอบถูกในกลุ่มต่ำ NH = จำนวนคนในกลุ่มสูง NL = จำนวนคนในกลุ่มต่ำ ค่า P มีค่าอยู่ระหว่าง 0 ถึง 1.00 P น้อย (เข้าใกล้ศูนย์) ข้อสอบยาก P มาก (เข้าใกล้หนึ่ง) ข้อสอบง่าย ข้อสอบที่ดีค่า P อยู่ระหว่าง .20 ถึง .80

6 ค่าอำนาจจำแนก (D) สัดส่วนของผู้เรียนในกลุ่มสูงที่ตอบข้อสอบถูกมากกว่าผู้เรียนในกลุ่มต่ำ ค่า D มีค่าอยู่ระหว่าง ถึง +1.00 ค่า D เป็นบวก : นักเรียนกลุ่มสูงตอบถูกมากกว่ากลุ่มต่ำ ค่า D เข้าใกล้ศูนย์ : กลุ่มสูงตอบถูกใกล้เคียงกับกลุ่มต่ำ ค่า D เป็นลบ : กลุ่มสูงตอบถูกน้อยกว่ากลุ่มต่ำ ข้อสอบที่ดี ค่า D ตั้งแต่ .20 ขึ้นไป

7 ค่า P ความหมาย .81 - 1.0 ง่ายมาก .61 - .80 ค่อนข้างง่าย
การแปลความหมาย ค่า P, D ค่า P ความหมาย ง่ายมาก ค่อนข้างง่าย ยากง่ายปานกลาง ค่อนข้างยาก ยากมาก ค่า D ความหมาย .40 ขึ้นไป ดีมาก ดีพอสมควร พอใช้ได้ ต่ำกว่า .20 ใช้ไม่ได้

8 1. ข้อใดคือข้อที่เหมือนกันของหัตถกรรมและอุตสาหกรรม
ก. วิธีการผลิต ข. ราคาผลผลิต ค. ความต้องการของตลาด ง. คุณภาพผลผลิต 2. ในพื้นที่ที่มีไม้ไผ่มาก นักเรียนคิว่าควรจะประกอบอาชีพใด มากที่สุด ก. ช่างทำเครื่องหนัง ข. ช่างจักสาน ค. ช่างแกะสลัก ง. ช่างทอผ้า

9 3. นักเรียนมีวิธีการแก้ดินเปรี้ยวอย่างไร
ก. ใส่ปูนขาว ข. ใส่ปุ๋ยอัมโมเนียเพิ่ม ค. พรวนดินบ่อยๆ ง. ปลูกพืชตระกูลถั่ว 4. ด.ช.แดงเลือกซื้อผลไม้ที่สหกรณ์ครู โดยไม่ไปซื้อที่แผงลอย นักเรียนคิดว่ามาจากเหตุผลใด ก. ร้านที่สหกรณ์ครูถูกกว่า ประหยัดเงิน ข. ร้านที่สหกรณ์อยู่ใกล้บ้าน ค. ร้านที่สหกรณ์ อาหารมีคุณภาพ สะอาด ง. ร้านที่สหกรณ์มีการแบ่งผลกำไร

10 5. ข้อใดถูกต้องมากที่สุด
ก. อำนาจนิติบัญญัติ ---- บริหารประเทศ ข. อำนาจบริหาร ---- ปกครองประเทศ ค. อำนาจตุลาการ ---- ออกกฎหมาย ง. อำนาจนิติบัญญัติ ---- ออกพระราชกำหนด

11

12

13 ข้อสอบค่อนข้างยาก ไม่มีอำนาจจำแนก ข้อสอบง่ายมาก มีอำนาจจำแนกพอใช้ ตัวลวง ค. ไม่ดี

14

15 ข้อสอบค่อนข้างยาก อำนาจจำแนกดีมาก ตัวลวง ข. ไม่ดี ข้อสอบค่อนข้างยาก อำนาจจำแนกไม่ดี ข้อสอบยากมาก อำนาจจำแนกดีพอควร

16 ข้อสอบที่ใช้ได้ กราฟแสดงคุณภาพของข้อสอบ P 1.0 .9 2(.9,.2) .8 .7 .6 .5
.4 .3 .2 .1 2(.9,.2) ข้อสอบที่ใช้ได้ 4(.3,-.4) 3(.3,.4) 1(.2,0) 5(.16,.3) D

17 บัตรข้อสอบ (ด้านหน้า)
ข้อสอบวิชา …………………………… ชั้น …….. เรื่อง ………………………. จุดประสงค์ …………………………………………………….. ………………. ระดับพฤติกรรม …………………………………………………………………. ข้อสอบ ………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………. เฉลย …………………………………………………………………………. ผู้ออกข้อสอบ …………………………………… วันที่ ………………………...

18 บัตรข้อสอบ (ด้านหลัง)
บันทึกการใช้ข้อสอบ ครั้งที่ วันที่สอบ การสอบ ค่า P ค่า D _____ __/___/___ ___________________________ _____ _____

19 การวิเคราะห์ข้อสอบอิงเกณฑ์
แบบทดสอบที่จะวิเคราะห์ข้อสอบ 1. แบบทดสอบที่ครูผู้สอนสร้างขึ้นเองเพื่อ ใช้วัดการรอบรู้ (mastery)/ไม่รอบรู้ (nonmastery) หรือ การผ่าน (pass)/ ไม่ผ่าน (fail) ในแต่ละจุดประสงค์การเรียนรู้ 2. แยกข้อสอบที่วัดในแต่ละจุดประสงค์ เพื่อวิเคราะห์ข้อสอบ แยกเป็นอิสระจากกัน 3. แบบทดสอบประกอบด้วยข้อสอบแบบปรนัย ที่มีการให้คะแนนเป็นแบบ 1-0 4. กำหนดคะแนนจุดตัด (cut-off score) 5. ใช้สำหรับการสอบผู้เรียนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เพียงครั้งเดียว เช่นการสอบหลังเรียน

20 ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อสอบ
1. ตรวจให้คะแนนผลการตอบข้อสอบ (ตอบถูกให้ 1 ตอบผิดให้ 0) 2. รวมคะแนนและตัดสินการผ่าน (P) หรือไม่ผ่าน (F) จุดประสงค์การเรียนรู้ 3. แยกกระดาษคำตอบของนักเรียนเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ผ่าน (P) และ กลุ่มที่ไม่ผ่าน (F) 4. บันทึกผลการตอบข้อสอบแต่ละข้อของนักเรียนแต่ละกลุ่ม แยกกลุ่มละตาราง 5. นับจำนวนนักเรียนที่ตอบข้อสอบแต่ละข้อถูกในกลุ่มที่ผ่าน (RP) 6. นับจำนวนนักเรียนที่ตอบข้อสอบแต่ละข้อถูกในกลุ่มที่ไม่ผ่าน (RF) 7. คำนวณค่าความยากง่ายของข้อสอบ (ค่า P) และค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบ (ดัชนี B)

21 ค่าความยากง่ายของข้อสอบ (ค่า P)
สัดส่วนของจำนวนผู้เรียนที่ตอบข้อสอบถูกต้อง RP = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มผ่าน ที่ตอบข้อสอบถูก RF = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มไม่ผ่าน ที่ตอบข้อสอบถูก NP = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มที่ผ่าน NF = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มที่ไม่ผ่าน การแปลความหมาย ค่า P จะมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 1.00 ค่า P น้อย (ค่าเข้าใกล้ 0 ) เป็นข้อสอบที่ยาก ค่า P มาก (ค่าเข้าใกล้ 1 ) เป็นข้อสอบที่ง่าย

22 ค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบ (ค่าดัชนี B)
RP = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มผ่าน ที่ตอบข้อสอบถูก RF = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มไม่ผ่าน ที่ตอบข้อสอบถูก NP = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มที่ผ่าน NF = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มที่ไม่ผ่าน การแปลความหมาย ค่า B จะมีค่าตั้งแต่ ถึง 1.00 ค่า B เป็น ลบ เป็นข้อสอบที่ไม่ดี ค่า B เข้าใกล้ 0 เป็นข้อสอบที่ไม่มีอำนาจจำแนก ค่า B เป็น บวก เป็นข้อสอบที่ที่มีอำนาจจำแนก คือกลุ่มที่ผ่านตอบถูกมากว่ากลุ่มที่ไม่ผ่าน

23

24 ข้อสอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 ค่า P 1.00 0.90 0.70 0.80 0.40 ค่า B 0.00 0.25 0.75 0.08 0.67


ดาวน์โหลด ppt การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google