งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์
ระบบการวิเคราะห์ข้อสอบออนไลน์อัตโนมัติ Automatic On-line Item Analysis System ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์

2 ป้อนข้อมูลผลสอบด้วยมือ
บทนำ สอบ ป้อนข้อมูลผลสอบด้วยมือ วิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์ ปัจจุบันมีโปรแกรมช่วยวิเคราะห์ข้อสอบด้วยคอมพิวเตอร์ทำให้การวิเคราะห์ง่ายขึ้นแต่การที่ต้องนำข้อมูลผลสอบมาป้อนด้วยมือทำให้การวิเคราะห์ข้อสอบใช้เวลาและแรงงานเป็นอย่างมาก ระบบวิเคราะห์ข้อสอบอัตโนมัติโดยนำผลการสอบออนไลน์มาวิเคราะห์ทำให้ลดเวลาการวิเคราะห์ข้อสอบและพัฒนาไปสู่ระบบการคลังข้อสอบได้ในอนาคต สอบ วิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์

3 รูปแสดงการเปรียบเทียบวงจรการวิเคราะห์ข้อสอบแบบดั้งเดิม(ซ้าย) กับแบบอัตโนมัติ (ขวา)

4 วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบการวิเคราะห์ข้อสอบออนไลน์โดยใช้ทฤษฎีการทดสอบแบบคลาสสิก (Classical Test Theory: CTT) ดังนี้คือ การวิเคราะห์ข้อสอบรายข้อเลือกเฉพาะค่าความยาก(Difficulty) ค่าอำนาจจำแนก(Discrimination) การวิเคราะห์ข้อสอบทั้งฉบับจะวิเคราะห์เฉพาะค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ด้วยวิธีการ Kuder-Richardson (KR-20)

5 ค่าความยาก p แทน ค่าความยาก H แทน จำนวนคนในกลุ่มสูงทำถูก
L แทน จำนวนคนในกลุ่มต่ำทำถูก N แทน จำนวนคนในกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำรวมกัน ค่า p ที่ใช้ได้ ควรมีค่าอยู่ระหว่าง .2 ถึง .8

6 ค่าอำนาจจำแนก (กรณีตัวเลือกถูก)
ค่าอำนาจจำแนกตัวลวง (กรณีตัวเลือกผิด) r แทน ค่าอำนาจจำแนก H แทน จำนวนคนในกลุ่มสูงที่ตอบถูก L แทน จำนวนคนในกลุ่มต่ำที่ตอบถูก ค่า r ที่ใช้ได้ ควรมีอยู่ระหว่าง ถึง WH = จำนวนคนในกลุ่มสูงที่เลือกตัวลวงนั้น WL = จำนวนคนในกลุ่มต่ำที่เลือกตัวลวงนั้น NH = จำนวนคนทั้งหมดในกลุ่มสูง NL = จำนวนคนทั้งหมดในกลุ่มต่ำ rw ควรมากกว่าหรือเท่ากับ 0.05

7 ค่าความเชื่อมั่น (KR-20)
rtt แทน ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ k แทน จำนวนข้อของแบบทดสอบ s2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวมทั้งฉบับ p แทน สัดส่วนของคนทำถูกแต่ละข้อ q แทน สัดส่วนของคนทำผิดแต่ละข้อ (q = 1 - p) ค่าที่ใกล้ 1.0 แสดงระดับของความเชื่อมั่นที่สูง

8 วิธีการ ในการวิจัยครั้งนี้ใช้การวิเคราะห์และออกแบบเชิงโครงสร้าง และแผนภาพความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี (Entity Relationship Diagram: ERD) เพื่อออกแบบฐานข้อมูล ส่วนซอฟต์แวร์ที่ใช้คือภาษา PHP, JavaScript, MySQL และ Apache web server

9 ขั้นตอนการพัฒนา การเริ่มต้นและการวางแผน เป็นการศึกษาความเป็นไปได้ซึ่งพบว่ามีเทคโนโลยีเว็บที่สนับสนุนการวิจัย เช่น PHP, MySQL, Apache web server ความต้องการและการวิเคราะห์ เป็นการรวบรวมความต้องการใช้ระบบโดยเก็บข้อมูลผู้เกี่ยวข้องในระบบการสอบทั้งอาจารย์และนักเรียน การออกแบบ เป็นการนำเอาผลการวิเคราะห์มาออกแบบระบบเริ่มจากแผนภาพบริบทและขยายไปสู่แผนภาพกระแสข้อมูลและออกแบบฐานข้อมูลด้วยแผนภาพอีอาร์ (ER diagram) การสร้างโปรแกรม โดยนำแผนภาพกระแสข้อมูลมาเขียนโปรแกรมภาษา PHP เชื่อมกับฐานข้อมูล MySQL บนเว็บเซิร์ฟเวอร์ Apache การทดสอบ โดยทดสอบโปรแกรมกับข้อสอบแบบปรนัย 4–5 ตัวเลือก การดำเนินงานและการบำรุงรักษา โดยนำเอาระบบมาใช้งานจริงตลอดจนตรวจสอบและปรับแต่งขณะใช้ระบบเพื่อความเหมาะสม

10 Context Diagram

11 DFD Level 0 (All)

12 DFD Level 0 (Difficulty)

13 DFD Level 0 (Discrimination)

14 DFD Level 0 (Reliability: KR-20)

15 ER-Diagram

16 รูปรีเลชันหลังแปลงจาก ER-diagram แล้ว

17 ผังงานโปรแกรมระบบการวิเคราะห์ข้อสอบแบบอัตโนมัติ

18 ตัวอย่างระบบ: หน้าหลัก

19 ตัวอย่างระบบ: ผลการวิเคราะห์ข้อสอบ

20 ตัวอย่างระบบ: การแปลผลการวิเคราะห์

21 จบการนำเสนอ คำถาม + คำตอบ


ดาวน์โหลด ppt ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google