เร่งรัดปฐมภูมิด้วย รพสต/ศสมแรงหนุนDHSเสริม IT

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
Advertisements

รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ/ตำบล มุ่งสู่ คปสอ./รพ.สต.ติดดาว
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ภารกิจนักสุขภาพครอบครัว
พื้นที่รับผิดชอบของ นสค.
จังหวัดสุพรรณบุรี. วันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ เขต มอบนโยบายการจัดทำแผน สุขภาพเขต การประชุมระดับเขต ครั้งที่ ๑ วันที่ ๑๓ – ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๕ แบ่งการ ดำเนินงานออกเป็น.
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
ความหมายและกระบวนการ
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
“เบาหวาน ความดัน ดูแลถ้วนทั่วด้วยหมอครอบครัว” รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
แผนบริหารราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติราชการ กระทรวงสาธารณสุข พ. ศ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
ส่งเสริมสัญจร.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
แผนงานดูแลผู้สูงอายุ
นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
กลไกขับเคลื่อนDHS สู่ปฎิบัติ “ฝันให้ไกล ตั้งใจไปให้ถึง”
บริการปฐมภูมิเข้มแข็ง
“ประชาชนมีญาติเป็นหมอ” หมอครอบครัวประจำตัวทุกครัวเรือน
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
Pass:
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
หมอครอบครัวประจำตัว ทุกครัวเรือน ปฏิบัติการเร่งรัด ๒๕๕๕ ปฏิ
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เร่งรัดปฐมภูมิด้วย รพสต/ศสมแรงหนุนDHSเสริม IT พล นพ.นิทัศน์ รายยวา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข วันที่ 26 ธันวาคม 2555

ภารกิจงานเร่งด่วน พัฒนาระบบฉุกเฉินเพื่อรองรับอุบัติเหตุโดยเฉพาะในช่วง เทศกาลที่กำลังจะเข้ามาถึง การดูแลกลุ่มต่างๆ ได้แก่ เด็ก สตรี ผู้สูงอายุและ ผู้ด้อยโอกาส ผ่านศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์พึ่งได้และโครงการ EWEC การแก้ปัญหาผู้ติดยาเสพติดทั้งในด้านการป้องกันและการ บำบัดรักษา ให้เกิดการคัดกรองแบ่งกลุ่ม รูปแบบการ รักษา ตลอดจนการติดตามแบบใหม่ การปรับปรุงคุณภาพด้านการบริการประชาชน เช่น การลดคิวและระยะเวลารอคอยการรับบริการของผู้ป่วย ประชาชนทุกครัวเรือนมีหมอใกล้บ้านใกล้ใจ ติดต่อได้ทุกเวลา 2

ภารกิจงานเร่งด่วน การดูแลสุขภาพตามกลุ่มวัย เช่น เด็ก สตรี ผู้สูงอายุตามนโยบายรัฐบาล และกลุ่มโรคเช่น โรคเบาหวาน ภาวะความดันโลหิตสูงที่มีภาระ โรคแทรกซ้อนสูง การขยายการบูรณาการการจัดบริการผู้ป่วยที่ เป็นปัญหาสำคัญของประเทศของสามกองทุน เช่น ผู้ป่วยมะเร็ง โครงการในพระราชดำริทุกโครงการ การทบทวนงบลงทุน DPL ให้มีประสิทธิภาพ คุ้มค่า ตรงต่อความต้องการ และการ จัดเตรียมงบประมาณปี 2557 ให้เสร็จภายใน มกราคม 2556 3

All people เป้าหมาย P&P “ครบทุกคน ครบทุกที่ ครบทุกประเด็น” 6 D:พิการ C:เด็ก A:ตั้งครรภ์ O:ผู้สูงอายุ N:โรคเรื้อรัง “ครบทุกคน ครบทุกที่ ครบทุกประเด็น” 6

หน่วยงานรับผิดชอบ รพ.สต. รพช.+สสอ. รพศ./รพ.ท /สสจ. ตำบล/ศสม อำเภอ จังหวัด เขตเครือข่ายบริการ ผู้ตรวจราชการฯ 9

กลไกบริหารนโยบาย รพสต./ศสม (ตำบล) รพช.+สสอ. เขตเครือข่าย รพศ./รพท.. กรรมการ ปฐมภูมิอำเภอ รพศ./รพท.. กรรมการ ปฐมภูมิจังหวัด เขตเครือข่าย กรรมการ ปฐมภูมิเขต 31 7

DHS *พลังขับเคลื่อนสุขภาพเข้มแข็ง*

ยุทธศาสตร์ดูแลประชาชน “ทุกคน ทุกประเด็น ทุกเวลา”

พื้นที่ (DHS) - ผอ.รพช. + สสอ. เป็นมิตร ใกล้ชิด - ใช้อำเภอเป็นฐาน - ผอ.รพช. + สสอ. เป็นมิตร ใกล้ชิด - ทีมงาน รพช. + สสอ. เป็น ผู้สนับสนุน - รพ.สต. (ศสม.) เป็นผู้ปฏิบัติ เข็มแข็ง (POWER FULL)

ยุทธศาสตร์ 1 สร้างองค์กรนำขับเคลื่อนมีประสิทธิภาพ 2 เสริมพลังผู้ปฏิบัติงานอย่างเต็มที่ 3 ประสาน/ร่วมมือ อปท “ร่วมใจ ทรงพลัง” 4 บูรณาการทุกภาคส่วน “เป็นหุ้นส่วน” 5 สร้างการมีส่วนร่วมชุมชน “เฝ้าระวัง”

ยุทธวิธีที่ 1 สร้างองค์กรนำ 1.1 “รวมคน รวมเงิน รวมงาน” พื้นที่อำเภอเป็นเป้าหมาย 1.2 สร้างการมีส่วนร่วมยั่งยืน “ร่วมดำเนินงาน ร่วมประเมิน ร่วมรับผิดชอบ” 1.3 เริ่มปฐมภูมิเชื่อมโยง 8 ประเด็น 1.4 ดูแลประชาชนจากครัวเรือน

ยุทธวิธีที่ 2 เสริมพลังผู้ปฏิบัติงาน 2.1 เสริมคน นสค : ปชก= 1 : 1250 2.2 เสริมทักษะ(ความรู้ ความสามารถ) 2.3 เสริมกำลัง พาหนะ IT โปรมือถือ 2.4 เสริมใจ ความก้าวหน้า ค่าตอบแทน 2.5 เสริมแนวทาง“ข้อมูลมีไว้ใช้ ประเมิน”

ยุทธวิธีที่ 3 ประสาน อปท. ”รวมใจ ทรงพลัง” 3.1 “ บทบาทใหม่ ภารกิจใหม่” 3.2 เป้าหมายชัดเจน “ทุกคน ทุกประเด็น ทุกเวลา” 3.3 เร่งรัดงาน “แบบหุ้นส่วน”

ยุทธวิธีที่ 4 บูรณาการทุกภาคส่วน 4.1 ระดมวิชาการ ทักษะ หนุนช่วยพื้นที่ 4.2 ร่วมกำหนดธงนำแบบมีส่วนร่วม “ทุกเรื่อง ทุกหน่วย ทุกปัญหา” 4.3 จัดแพทย์ที่ปรึกษา 1:12(พ.เวช)

ยุทธวิธีที่ 5 ชุมชนเฝ้าระวังภัยสุขภาพ 5.1 เชื่อมโยงปัญหาสู่การเฝ้าระวัง “ชุมชนเฝ้าระวังกันเอง” 5.2 ประชาชนมีบทบาทและมีโครงการ 5.3 ชุมชนกำหนดมาตรการทางสังคม

1 จัดองค์กร “ติดตาม ต่อเนื่อง สม่ำเสมอ” 2 ประชาชน “ดี เสี่ยง ป่วย คือเป้าหมาย” 3 นสค เป็นญาติดูแลแบบ “หมอครอบครัว” 4 นสค มีแพทย์ที่ปรึกษา “ครู ผู้มีภารกิจ ร่วมดูแลครบวงจร” 5 จัดปรึกษา ปชช ถึง นสค ต่อหาแพทย์ 6 เติมทักษะ นสค สม่ำเสมอ ต่อเนื่อง

ระบบ 1.หมอครอบครัว ปชช นสค พ.เชี่ยวชาญ พ.เวช เชื่อมโยง แนบแน่น 1:1,250 มีความสามารถ มีตัวช่วย กำลังใจ ปชช พ.เชี่ยวชาญ เชื่อมโยง แนบแน่น พ.เวช 1:1 ตำบล ที่ปรึกษา อารมณ์ปฐมภูมิ

2. CARE (ดูแลด้วยหัวใจ) 2.1 C onsultation 2.2 A tele doctor @ hosp nearby 2.3 R emote monitor and FU. @ home 2.4 E xtend personel Health promotion program

- ปรึกษาทางไกล พึ่งได้เหมือนญาติ - พบหมอใกล้ตัว ทั่วถึงออนไลน์ - ปรึกษาทางไกล พึ่งได้เหมือนญาติ - พบหมอใกล้ตัว ทั่วถึงออนไลน์ ดูแลถึงบ้าน เบิกบานถ้วนทั่ว แผนส่งเสริมสุขภาพ รายคน ชุมชน ร่วมแรงแข็งขัน

C=Consultation 24x7 C = Consultation 24x7 1:1250 1:12 Pop 15000 นสค. แพทย์เวชศาสตร์ ครอบครัว แพทย์เวชศาสตร์ ครอบครัว นสค. แพทย์เฉพาะทาง แพทย์เฉพาะทาง ประชาชน ประชาชน Pop 15000 “ ประชาชน มีญาติเป็นหมอ” 23

C=Consultation 24x7 C = Consultation 24x7 3,500 55 ล้าน 44,000 นสค. แพทย์เวชศาสตร์ ครอบครัว แพทย์เวชศาสตร์ ครอบครัว นสค. แพทย์เฉพาะทาง แพทย์เฉพาะทาง ประชาชน ประชาชน 3,500 55 ล้าน 44,000 “ ประชาชน มีญาติเป็นหมอ” 23

A=A Tele-Doctor@Hospital Nearby หมอ ออนไลน์ MOPH 21 June 2012 24

หมอครอบครัว ประจำตัวทุกครัวเรือน R=Remote Monitor&Follow up@home หมอครอบครัว ประจำตัวทุกครัวเรือน 27

E=Extended Personal Health care Program แผนสุขภาพรายคน เตือนด้วย SMS 28

๒.ควบรวม เล็ก กลางในตำบล ๓.ตั้งศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง จัดทีม P&P ๑.เดี่ยว รพ.สต.ขนาดใหญ่ ๒.ควบรวม เล็ก กลางในตำบล ๓.ตั้งศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพช.,รพท. , รพศ.) ประชากร ๖,๐๐๐-๑๕,๐๐๐ คน 10

Empower+Strengthening คุณภาพทีม P&P เติมคน - ๑:๑๒๕๐ เติมสมอง - ความรู้/ทักษะ เติมกำลัง – ยานพาหนะ,IT/โทรศัพท์ เติมใจ-ความมั่นคง/ค่าตอบแทน Empower+Strengthening 11

กรอบงาน ๓ ระยะ ๑ ต.ค.๕๕ เร่งรัดระยะที่ ๒ ๑ เม.ย.๕๖ ๒๕,๐๐๐ หมู่บ้าน ดำเนินการทันที ๒๐,๐๐๐ หมู่บ้าน ๑,๐๐๐ ศสม. ๑ ต.ค.๕๕ เร่งรัดระยะที่ ๒ ๒๕,๐๐๐ หมู่บ้าน ๑ เม.ย.๕๖ เร่งรัดระยะที่ ๓ ๒๕,๐๐๐ หมู่บ้าน ๑ ต.ค.๕๖ 12

ระยะที่ ๑ ดำเนินทันที ๑ ต.ค.๕๕ คนพร้อม งานเดิน ๒๐,๐๐๐ ม. ๑,๐๐๐ ศสม. คนพร้อม งานเดิน ๑.๑.รพ.สต.นำร่อง ๑,๐๐๐ แห่ง เร่งรัดทุกหมู่บ้าน ๑.๒.เครือข่ายรพ.สต.(ต)เร่งรัดทุกตำบล ๑ หมู่บ้าน ๑.๓.ทุกอำเภอ นำร่อง ๑ ตำบล ครบทุกหมู่บ้าน ๑.๔.ทุกจังหวัด นำร่อง ๑ อำเภอ ครบทุกหมู่บ้าน ๑.๕.ศูนย์สุขภาพ ทุกศูนย์ชุมชน 13

ระยะที่ ๑ ดำเนินทันที ๑ ต.ค.๕๕ คนพร้อม งานเดิน ๑๘๗ ม. ๑๐ ศสม. ตัวอย่าง จ.ปฐมภูมิ ๑ ต.ค.๕๕ ๑๘๗ ม. ๑๐ ศสม. คนพร้อม งานเดิน ๗ อ.๕๖ ต. ๕๘๐ม. ๑.๑.รพ.สต.นำร่อง ๑๑ แห่ง เร่งรัด ๖๐ หมู่บ้าน ๑.๒.เครือข่ายรพ.สต.(๓๓ ต)เร่งรัด ๓๘ หมู่บ้าน ๑.๓.ทุกอำเภอ รวม ๖ ตำบล รวม ๔๔ หมู่บ้าน ๑.๔.จังหวัด นำร่อง ๑ อำเภอ รวม ๔๕ หมู่บ้าน ๑.๕.ศูนย์สุขภาพ ๑๐ ศูนย์ชุมชน 13

เร่งรัด ระยะที่ ๒ ๑ เม.ย.๕๖ คนพร้อม งานเดิน ๒๕,๐๐๐ ม. คนพร้อม งานเดิน ๑ เม.ย.๕๖ ๒๕,๐๐๐ ม. ๒.๑ เครือข่ายรพ.สต(ต)ทุกตำบล“เพิ่มอีก ๒ หมู่บ้าน” ๒.๒ ทุกอำเภอ เพิ่มอีก ๒ ตำบล(ครบทุกหมู่บ้าน) ๒.๓ ทุกจังหวัดพัฒนาเพิ่ม ๒ อำเภอ(ครบทุกหมู่บ้าน) 14

เร่งรัด ระยะที่ ๒ ๑ เม.ย.๕๖ คนพร้อม งานเดิน ๒๓๔ ม. คนพร้อม งานเดิน ๑ เม.ย.๕๖ ๒๓๔ ม. ตัวอย่าง จ.ปฐมภูมิ ๒.๑ เครือข่ายรพ.สต อีก ๒ ม รวม ๘๐ หมู่บ้าน ๒.๒ ทุกอำเภอ อีก ๒ ต รวม ๘๔ หมู่บ้าน ๒.๓ จังหวัดเพิ่ม ๒ อำเภอ รวม ๗๐ หมู่บ้าน) 14

เร่งรัด ระยะที่ ๓ ๑ ต.ค.๕๖ คนพร้อม งานเดิน ๒๕,๐๐๐ ม. คนพร้อม งานเดิน ๑ ต.ค.๕๖ ๒๕,๐๐๐ ม. ๓.๑ เครือข่ายรพ.สต(ต)ที่เหลือ ครบทุกหมู่บ้าน ๓.๒ ทุกอำเภอ เพิ่มครบทุกหมู่บ้าน ที่เหลือ ๓.๓ ทุกจังหวัด เพิ่มครบทุกหมู่บ้าน ที่เหลือ 15

เร่งรัด ระยะที่ ๓ ๑ ต.ค.๕๖ คนพร้อม งานเดิน ๑๕๙ ม. คนพร้อม งานเดิน ๑ ต.ค.๕๖ ๑๕๙ ม. ตัวอย่าง จ.ปฐมภูมิ ๓.๑ เครือข่ายรพ.สต(ต)ที่เหลือ ๘๕ หมู่บ้าน ๓.๒ ทุกอำเภอ ครบทุกหมู่บ้าน ๗๔ หมู่บ้าน ๓.๓ ทุกจังหวัด ขยายครบถ้วนทุกหมู่บ้านแล้ว 15

W E C A N D O นโยบายส่งเสริมสุขภาพแลป้องกันโรค ปี ๕๖ เด็ก รายบุคคล -พฤติกรรมเสี่ยง -อุบัติเหตุ -มะเร็งตับ -จิตเวช รพศ. รพท. รพช. W ศูนย์สุขภาพ เด็ก -ดญ.แม่ -อ้วน -เหล้าบุหรี่ ประชาชน สุขภาพดีถ้วนหน้า E นโยบาย นสค. มี 5 ทักษะ ศูนย์สุขภาพ สตรี -พัฒนาการเด็ก -ศูนย์เด็ก -สุขภาพฟัน ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค รพ.สต. C ศสม. สร้างสุขภาพ ศูนย์สุขภาพ ผู้สูงอายุ -การตั้งครรภ์ -มะเร็งปากมดลูก -มะเร็งเต้านม A ศูนย์ฟื้นฟู ผู้พิการ N เบาหวาน ความดัน D ผู้พิการพึ่งตนเอง อสม. O ผู้สูงอายุครบวงจร 18 35 35

ประเด็น 1. รายบุคคล รวม 19 ประเด็น W- HIV ลดลง สตรีตรวจเต้านมเอง 1. รายบุคคล รวม 19 ประเด็น W- HIV ลดลง สตรีตรวจเต้านมเอง สตรีตรวจ CA Cx E- เหล้า / บุหรี่/ฟันผุ เด็กหญิงแม่ นักเรียนอ้วน นร.ชายใช้Condom C- โรคหัด เด็กพัฒนาการสมวัย เด็กจมน้ำตายลดลง A-ANC 12 w/QANC MMR/IMR N-DM / HT D-พิการ พึ่งตัวเอง O-สูงอายุ ครบวงจร

ประเด็น 2. พัฒนาหน่วยสนับสนุนใน รพช + เวชกรรม + พื้นที่ รวม 9 ประเด็น 2.1 ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 2.2 ห้องคลอดคุณภาพ 2.3 คลินิก NCD คุณภาพพึ่งได้ 2.4 ศูนย์ปรึกษาคุณภาพ 2.5 ศูนย์ผู้สูงอายุ / พิการ 2.6 DHS เครือข่ายอำเภอเข้มแข็ง 2.7 สถานบริการปลอดบุหรี่ 2.8 ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง(ศสม)คุณภาพ 2.9 โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม

เป้าหมาย P&P ปี ๕๖ กลุ่ม/ประเด็น ภารกิจรายประเด็น นสค. ๑ คนดูแลประชากร ๑ : ๑,๒๕๐ คน เครือข่าย รพ.สต. ดูแล๘,๐๐๐ คน ประเทศ ๖๕ ล้านคน W (๖๖%) วัยแรงงาน -พฤติกรรมเสี่ยงอุบัติเหตุ, มะเร็งตับ,จิตเวช ๘๒๕ ๕๓๐๐ ๔๓ E (๑๓%) วัยเรียน/รุ่น -ดญ.แม่-อ้วน -เหล้า ,บุหรี่ ๑๖๐ ๑,๐๐๐ ๘.๕ C (๘ %) เด็ก๐-๕ ปี -เด็กปฐมวัย -สุขภาพฟัน ๑๐๐ ๖๕๐ ๕ ล. A (๒๐%) หญิงตั้งครรภ์ มะเร็งปากมดลูก -หญิงตั้งครรภ์ -มะเร็งมดลูก -มะเร็งเต้านม ๑๔ ๒๕๐ ๙๐ ๑๓ ล. N เบาหวาน ความดัน -เบาหวาน -ความดัน ๖๐ ๔๐๐ ๓.๒๕ D (๒ %) ผู้พิการ -ผู้พิการพึ่งตนเอง ๒๔ ๑.๓ O (๑๓%) ผู้สูงอายุ -ดูแลผู้สูงอายุแบบครบวงจร 29

เริ่มจากแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน S L M

สร้างโครงการด้วย 7 กิจกรรมที่สามารถตอบสนองได้ทุกแผนงาน 7 โครงการที่สร้างเพื่อตอบสนอง ได้ทุกแผนงาน กลุ่มแผนงาน โครงการ

* บูรณาการแผนงานจากแหล่งต่างๆของระบบปฐมภูมิ เข้าเป็นแผนสุขภาพตำบลแล้วตอบสนองด้วย 7 โครงการ

การบริหารจัดการ IT และ DATA center 1 นสค.เยี่ยม 19 ประเด็น 43 แฟ้ม N.book 2 รวม รพสต/ศสม อ.จ. ขึ้น I-Cloud 3 ประชาชนโทรฯหา นสค 4นสคมีแพทย์ที่ปรึกษา(พ.เวชศาสตร์) ติดต่อกันด้วย IT 5พ.เวชศาสตร์ปรึกษาพ.เชี่ยวชาญทาง IT 6 DHS เตือนประชาชนด้วย SMS 7.ประชาชนมีแผนดูแลสุขภาพ 5 อ

We came from GOD to help people ? “ครบทุกคน ครบทุกที่ ครบทุกประเด็น” We came from GOD to help people ? จบการนำเสนอ