สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย
Advertisements

GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
Your company slogan The KKU SHOW & SHARE 2011 การสร้างโปรแกรมติดตามผลการ ปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติ ราชการประจำปี (Warning System) เจ้าของ ผลงาน นางวลาลักษณ์
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ
บทบาทสภาข้าราชการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
แนวทางการจัดทำแผนบริหารและพัฒนากำลังคน: Workforce Planning and Development Worksheet ดร.สุรพงษ์ มาลี ศูนย์บริหารกำลังคนภาครัฐ สำนักพัฒนาระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทน.
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การนำผลการวิจัยไปใช้
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 1st ปัญหา อุปสรรค และกลยุทธ์ ส่งเสริมงานวิจัยด้าน ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
PMQA พัชรศรี ศรีเมือง กลุ่มพัฒนาระบบบริหารกระทรวงยุติธรรม 14 ก.ย. 53
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
วิเคราะห์จุดอ่อน – จุดแข็ง และแนวทางแก้ไขปัญหาของงานข้อมูลสารสนเทศ ในความสัมพันธ์ระดับต่าง ๆ ของหน่วยงาน กลุ่มที่ ๔ กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศ.
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
ประสบการณ์รพศ.อุดรธานี ในการเตรียมรับการประเมิน
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
การศึกษาบัณฑิต (กศบ.) เทคโนโลยีทางการศึกษา มศว. ประสานมิตร
การจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีกลไกในการบริหารจัดการ สำนักอำนวยการ สป. องค์ความรู้การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ภาพลักษณ์และแนะนำองค์กร.
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
สำนักสารนิเทศ กระทรวงสาธารณสุข
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ระหว่างวันที่ 22 – 26 มิถุนายน 2552 ณ วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้าที่และความรับผิดชอบในปัจจุบัน (1) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และประมวลผลการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อสรุปในภาพรวมเสนอต่อคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ (2) วางแผนและดำเนินการจัดระบบข้อมูลเพื่อการประมวลผลและจัดทำรายงานการตรวจราชการกระทรวงกรณีปกติ ให้บรรลุภารกิจที่กำหนดไว้และเกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุด (3) จัดทำรายงานผลการตรวจราชการกระทรวงกรณีปกติ (4) ศึกษา วิเคราะห์ และดำเนินการพัฒนาเครือข่ายการตรวจราชการให้มีประสิทธิภาพ

สรุปความรู้และแนวคิดที่ได้จากการเข้ารับการอบรม 1. ได้แนวทางการคิดการวิเคราะห์งานอย่างสร้างสรรค์ เพื่อนำแนวคิด และเทคนิคมาใช้ในการคิดวิเคราะห์การปฏิบัติงานในหน้าที่ให้มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 2. ได้รับความรู้และเทคนิคการทำงานแบบเชิงรุกเพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์ 3. ได้รับความรู้ด้านเทคนิคการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ 4. ได้รับความรู้และเทคนิคการปรับเปลี่ยนวิธีการทำงานทั้งด้าน บุคลากรและขององค์กร ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

เป้าหมายที่จะดำเนินการภายใน 6 เดือน ภายหลังจากการได้เข้ารับการอบรมหลักสูตร“LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” แล้ว ทำให้ได้รับความรู้และแนวคิดในการปรับปรุงการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคนิคในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นในการทำงาน จากความรู้และแนวคิดที่ได้รับในครั้งนี้จะนำไปปรับปรุงการทำงานในระยะเวลา 6 เดือน นี้ โดยการคิดนอกกรอบ รวมทั้งการทำงานในเชิงรุก โดยไม่ต้องรอให้ผู้บังคับบัญชาสั่งการแต่เพียงอย่างเดียว ตัวอย่างเช่น

1. การพัฒนาหน่วยสนับสนุนการตรวจราชการ โดยการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานของหน่วยสนับสนุนการตรวจราชการ เพื่อให้หน่วยสนับสนุนการตรวจราชการมีความรู้ความเข้าใจและมีแนวทางการปฏิบัติงานในทิศทางเดียวกัน 2. พัฒนาเครือข่ายการตรวจราชการตามแนวทางการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สู่สถานศึกษาเพื่อรองรับการตรวจราชการให้มีประสิทธิภาพ ********