การปนเปื้อนของธาตุโลหะหนักในดิน ของอำเภอทับคล้อ จังหวัดพิจิตร การปนเปื้อนของธาตุโลหะหนักในดิน ของอำเภอทับคล้อ จังหวัดพิจิตร คณะทำงานวิจัย สำนักสำรวจดินและวางแผนการใช้ที่ดิน นายวิโรจน์ อิงคากุล นายสมปอง นิลพันธ์ สำนักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน ดร.อรทัย ศุกรียพงศ์
วัตถุประสงค์ของงานวิจัย เพื่อศึกษาดินต่างๆของอำเภอทับคล้อ จังหวัดพิจิตร มีการปนเปื้อนของโลหะหนัก และปัญหาต่อสภาพแวดล้อมหรือไม่ เพื่อทำแผนที่การแพร่กระจายของธาตุโลหะหนัก เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานดิน
เหมืองทองคำที่จังหวัดพิจิตร การทำเหมืองแร่ สาเหตุของผลกระทบสิ่งแวดล้อม
เหมืองทองที่ จังหวัดเลย เหมืองสังกะสีผาแดง อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก
โลหะหนัก เป็นโลหะที่มี ถ.พ. มากกว่า 5.0 กรัม/ลบ.ซม. การปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม เกิดโดยธรรมชาติ และมนุษย์ เกิดโดยธรรมชาติ เกิดพร้อมแร่ เป็นเพื่อนแร่ เกิดโดยมนุษย์ เช่น สารเคมีการเกษตร ขยะโรงงาน แบตเตอรี
ลักษณะการเกิดโลหะหนักโดยธรรมชาติ
การปนเปื้อนของโลหะหนักที่เกิดในธรรมชาติ
วิธีการศึกษา อ. ทับคล้อ จ.พิจิตร เป็นพื้นที่ศึกษา เก็บตัวอย่างดินในระดับ 0-30 ซม. ทั่วอำเภอทับคล้อได้ 234 ตำแหน่ง (วิธีการเก็บ) วิเคราะห์ตัวอย่างที่ สวด. ส่วนสิ่งแวดล้อมดิน โดย ICP (Inductive Couple Plasma) วิเคราะห์ธาตุ As Pb Cd Cu Zn
รูปแสดงตำแหน่งเก็บตัวอย่างดินตามสภาพพื้นที่ต่างๆ ใน อ.ทับคล้อ จ.พิจิตร
ผลการศึกษา ค่า As เกินมาตรฐาน สวล. มี 174 ตัวอย่างจาก 234 ตัวอย่าง (ไม่เกิน 3.9 มก./กก.) ค่าเกินมาตรฐาน หน่วยงานเกษตรมี 2 ตัวอย่าง (30.35 และ 98.8) ค่า Pb อยู่ในมาตรฐาน สวล. (ไม่เกิน 400 มก./กก.) สำหรับมาตรฐานหน่วยงานเกษตร(ไม่เกิน 55 มก./กก.) มีเกิน 2 ตัวอย่าง (100.65 และ 64.05) ค่า Cd Cu Zn ไม่เกินมาตรฐานของ สวล. และ หน่วยงานเกษตร
แผนที่แสดงปริมาณ As และ Pb แผนที่แสดงการปนเปื้อนของตะกั่วในดิน อ.ทับคล้อ จ.พิจิตร ผ
ธาตุโลหะหนัก ค่าเปรียบเทียบมาตรฐานของปริมาณโลหะหนักในดินในพื้นที่การเกษตร และที่อยู่อาศัย (มก./กก.) ประกาศของ สวล. ฉบับที่ 25 (1) กรมพัฒนาที่ดิน (2) กรมวิชาการเกษตร (3) As < 3.9 < 30 Pb < 400 < 55 Cd < 37 < 0.5 < 0.15 Cu -- < 45 Zn < 100 < 70
สรุป และวิจารณ์ พื้นที่อำเภอทับคล้อ ไม่มีปัญหาการปนเปื้อนของโลหะหนัก มาตรฐานการปนเปื้อนของโลหะหนักของประกาศสิ่งแวดล้อม และหน่วยงานการเกษตร มีความแตกต่าง ควรมีการศึกษาวิจัยว่าค่าไหนมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะด้านการเกษตร และสุขภาพอนามัยของคน
ความจำเป็นในการศึกษาโลหะหนัก มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้านต่างๆ เช่น สุขภาพ ด้านการเกษตร ด้านเศรษฐกิจ สภาพพื้นที่ เพื่อศึกษาเป็นข้อมูลดิน สำหรับเผยแพร่ เพื่อทำมาตรฐานการปนเปื้อนของโลหะหนักในดิน
จบการนำเสนอ