เริ่มต้นเขียนโปรแกรม Java

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

Lab Part Nattee Niparnan
การติดตั้งและใช้งานโปรแกรม R base บน Window
Introduction to C Introduction to C.
โปแกรมยูทิลิตี้ บทที่ 11.
การใช้ Microsoft Word 2007 / 2010 เพื่อการจัดการงานเอกสารเชิงวิชาการ
การพัฒนาระบบควบคุมเครื่องหยอดเหรียญสำหรับเพิ่มสิทธิ์ในการพิมพ์
สถาปัตยกรรมแบบ stack และ การผลิตโค๊ด
การศึกษารายกรณี.
JavaScript.
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
เตรียมเอกสารประกอบการนำเสนอ
โครงสร้างภาษาซี.
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
Homework ให้เขียนโปรแกรม Text Editor อย่างง่ายที่ชื่อว่า "Simple Notepad" ที่มีการทํางานคล้ายคลึงกับโปรแกรม Notepad แต่มีความสามารถจํากัด ผู้ใช้สามารถใช้เมนูคําสั่งเพื่อทําการ.
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
การสร้าง Web Page จาก Wizard
การพิมพ์เอกสารออกทาง เครื่องพิมพ์. การตรวจเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Print Preview เราสามารถตรวจสอบความถูกต้องของ เอกสารก่อนสั่งพิมพ์โดยใช้คำสั่ง Print Preview.
Surachai Wachirahatthapong
การติดตั้งโปรแกรมเพื่อจัดการร้านค้าออนไลน์
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Word
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 9 การใส่รูปภาพ (Image).
บทที่ 6 โครงสร้างของเว็บ.
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บไซต์
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
ผังงาน (Flowchart) มหาวิทยาลัยเนชั่น หลักการภาษาชุดคำสั่ง
รู้จักและใช้งาน Applet
เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม Java
ต้อนรับเข้าสู่โลกของภาษา Java
ทำงานกับ File และStream
เครื่องมือในการพัฒนา Android App
การใช้งาน Dev C ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
พื้นฐานการรับค่า จากผู้ใช้งานด้วย EDITTEXT ง การเขียนโปรแกรมบนระบบไร้ สาย.
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
ใบงานที่ 7 การรับและแสดงผลข้อมูล
การนำเสนอข้อมูล หน่วยที่ 1.
HTML, PHP.
การใช้โปรแกรม Microsoft PowerPoint
ประวัติและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี
สนุกกับ Activity ใน Android
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
บทที่ 3 Windows OUTLINE คำสั่งเกี่ยวกับไฟล์และโฟลเดอร์
ฟังก์ชัน.
Object-Oriented Programming
1. การเขียนโปรแกรมภาษา PHP เบื้องต้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม PHP
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การสร้างสื่อมัลติมีเดียด้วยโปรแกรม iSpring Presenter Master Edition
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
บทที่ 2 การแสดงผลและรับข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ Microsoft Visual C#
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 9 การสร้างและใช้ งานฟังก์ชั่น C Programming C-Programming.
การเขียน แบบวนซ้ำ , วนลูป
การสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม CONTERT AUTHORING
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
เริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษาจา วา (Introduction to JAVA Programming)
บทที่ 10 การจัดการไฟล์ อาจารย์ศศลักษณ์ ทองขาว สงวนลิขสิทธิ์ © 2547 มหาวิทยาลัยราช ภัฏสงขลา C Programming C-Programming.
2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ 1 บทที่ 1 แนะนำเทคโนโลยีจาวา Introduction to Java Technology.
การทำซ้ำ (for).
Nested loop.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เริ่มต้นเขียนโปรแกรม Java บทที่ 3 เริ่มต้นเขียนโปรแกรม Java

สรุปขั้นตอนการเขียนโปรแกรมภาษา java

ขั้นที่ 1 : สร้างโปรเจ็กต์ โปรเจ็กต์คือ ที่รวมของไฟล์หลายๆ ไฟล์ที่จำเป็นต่อการทำงาน เพราะโดยปกติโปรแกรมหนึ่งๆ จะประกอบไปด้วยไฟล์มากกว่าหนึ่งไฟล์อยู่แล้ว ในทางปฏิบัติคือการสร้างโฟลเดอร์เตรียมไว้ใส่ไฟล์ .java และ .class เมื่อเปิดโปรแกรม Eclipse แล้ว ให้คลิกเลือกโฟลเดอร์ที่เราสร้างเตรียมไว้เก็บไฟล์

ขั้นที่ 2 : เขียนโปรแกรม ให้เราพิมพ์คำสั่งในภาษา Java เพิ่มเติมแทรกเข้าไปดังนี้ โปรแกรมที่เราเขียนขึ้นมาเป็นโปรแกรมง่ายๆ ที่เพียงแค่ส่งข้อความ “Hello World, Java” ออกไปแสดงผลที่หน้าจอ

ขั้นที่ 3 + 4 : คอมไพล์ และรันโปรแกรม การคอมไพล์และรันโปรแกรมในกรณีปกติไม่มีการรับค่าอาร์กิวเมนต์ การคอมไพล์ และรันโปรแกรมในกรณีที่มีการรับค่าอาร์กิวเมนต์

ขั้นตอนที่ 5 : การบันทึกโปรเจ็กต์ จะเห็นว่าไฟล์ .java ซึ่งเก็บโค้ดที่เราเขียนนั้นจะอยู่ในซับโฟลเดอร์ src ส่วนไฟล์นามสกุล .class ซึ่งได้จากการคอมไพล์นั้นจะเก็บอยู่ในซับโฟลเดอร์ bin (และทั้งหมดจะเก็บในภายใต้โปรเจ็กต์ที่เราได้สร้างขึ้น)

เพิ่มเติม เมธอดแสดงผลทางจอภาพพื้นฐาน Escape sequence ควบคุมการแสดงผล print println Escape sequence ควบคุมการแสดงผล \n \t \b \r \\ \’ \”

ก่อนจบบท ในบทนี้เราได้เรียนรู้ขั้นตอนโดยละเอียด พร้อมทั้งฝึกปฏิบัติจริงให้เห็นถึงวิธีการเริ่มใช้งาน eclipse, วิธีการเขียนโปรแกรม, การคอมไพล์โปรแกรม และวิธีการทดสอบโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา จะเห็นว่าแม้จะมีขั้นตอนการใช้งานโปรแกรมที่หลายขั้นตอนแต่ก็ไม่ได้ซับซ้อน และการคอมไพล์กับการทดสอบผลลัพธ์การทำงานของโปรแกรมก็ทำได้ง่ายมาก