กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเนชั่น จังหวัดลำปาง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
Development of e-Office System for Computer Centre at Khon Kaen University COE นาย กรีชา ซื่อตรง รหัส นาย ปรเมศวร์ มาพิทักษ์ รหัส.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
การวิจัย RESEARCH.
KM Learning Power ครั้งที่ 1
ตัวบ่งชี้คุณภาพ สำนักงานอธิการบดี
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
Thesis รุ่น 1.
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ฐานข้อมูลผลการดำเนินงาน
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
สมพงษ์ เจริญศิริ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
การประกันคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
Management Information Systems
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การประเมินคุณภาพภายในกอง แผนงาน ประจำปีการศึกษา 2551 วันที่ 20 กรกฎาคม 2552 โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน.
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Page: 1 การจัดการแฟ้มดิจิทอลออนไลน์ อ. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 24 เมษายน 2552 Online File Management มหาวิทยาลัยโยนก จังหวัด ลำปาง ศูนย์กลางความรู้และภูมิปัญญา.
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
การพัฒนาระบบสารสนเทศงานวิจัย ในคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเขียนข้อเสนอโครงการ
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
ชื่อรายงานการวิจัย การศึกษาประสิทธิภาพเอกสารคำสอนรายวิชา ๐๐๐ ๒๑๐ ตรรกศาสตร์เบื้องต้น สำหรับนิสิตชั้นปีที่ ๒ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
หลักการเขียนโครงการ.
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
แนวปฏิบัติที่ดีของ การประกันคุณภาพ การศึกษา. ที่องค์ประกอบ ผลการประเมิน ปี 52 ปี 53 ปี 54 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผน ดำเนินการ
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเนชั่น จังหวัดลำปาง NCCIT 2012 การพัฒนาระบบฐานข้อมูลการประเมินตนเอง เชื่อมโยงระบบแฟ้มอิเล็กทรอนิกส์ระดับบุคคล กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเนชั่น จังหวัดลำปาง A Development of Self Assessment Report Database Integrated with Personal Electronic-Document : A Case study of Nation University in Lampang Province Room 5 17:10 – 17:30 NCCIT2012-25 9 May 2012 Tel.08-1992-7223 บุรินทร์ รุจจนพันธุ์(Burin Rujjanapan)

ความเป็นมา พรบ.2542 กำหนดให้มหาวิทยาลัยรับการประเมินคุณภาพ ภายในตามองค์ประกอบของ สกอ. (ปีการศึกษา 2550) 9 องค์ประกอบ 23 ตัวบ่งชี้ ให้มีการประเมินตนเองระดับคณะวิชา และมหาวิทยาลัย ให้มีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในทุกปีการศึกษา ระบบฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงภายในและภายนอกเป็นตัวบ่งชี้

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาโปรแกรมให้บุคลากร และคณะวิชา จัดเก็บข้อมูลการประเมินตนเอง เพื่อให้ผู้ประเมินตรวจสอบหลักฐาน การประกันคุณภาพมีความพึงพอใจ

วรรณกรรมอ้างอิง (1/2) หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ในพรบ. พ.ศ. 2542 กำหนดให้มีการประกันคุณภาพการศึกษา ทั้งภายในและภายนอก ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database System) ภาษาพีเอชพี (PHP) เอสคิวแอล (SQL) เอแจ็กซ์ (AJAX – Asynchronous Javascript And XML) ระบบแฟ้มอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic-Document)

วรรณกรรมอ้างอิง (2/2) กิตติยา สีอ่อน 2547 ได้วิจัยเกี่ยวกับโมเดลเชิงสาเหตุประสิทธิผล พบว่า ปัจจัยส่งผลต่อประสิทธิผล คือ ความตระหนักและทัศนคติต่อการประกันฯ ทำงานเป็นทีม การฝึกอบรม งบประมาณ วัฒนธรรมคุณภาพ ภาวะผู้นำ ขวัญชัย ผ่องญาติ และพงศ์วรวุฒิ สนธิโสภณ 2544 (มจพ) จัดทำโปรแกรม คอมพิวเตอร์ช่วยจัดเก็บข้อมูลการประกันคุณภาพการศึกษา พบว่า สามารถ เก็บข้อมูลได้ครบ สามารถจัดทำเอกสารส่วนสรุปได้ ธนาชัย บูรณะวัฒนากูล และประสงค์ ปราณีตพลกัง 2550 (มจร) ทำการพัฒนาระบบสารสนเทศบนเว็บในการประกันคุณภาพการศึกษา IPOI (Input Process Output Impact) พบว่า แสดงสถิติอย่างมีประสิทธิภาพ

วิธีดำเนินการวิจัย 1. ศึกษาข้อมูลเบื้องต้น - ประชุมแลกเปลี่ยนในทีมวิจัย - ประชากรคือ อาจารย์ และเจ้าหน้าที่ 100 คน - กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้รับผิดชอบระดับคณะ ผู้ประเมินภายใน และผู้เกี่ยวข้อง 2. วิเคราะห์และออกแบบระบบงานใหม่ - Relational Database - SQL - AJAX

วิธีดำเนินการวิจัย 3. พัฒนาโปรแกรมต้นแบบ แบ่งเป็น 2 ระบบหลัก 1) ระบบงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา 2) ระบบแฟ้มอิเล็กทรอนิกส์ ลำดับการใช้งาน - ระบบตรวจสอบสิทธิ์การเข้าใช้งาน - ระบบแฟ้มอิเล็กทรอนิกส์ - ระบบนำแฟ้มอิเล็กทรอนิกส์เข้าตามเกณฑ์มาตรฐาน - ระบบรายงานเอกสารตามเกณฑ์ประกันคุณภาพการศึกษา 4. จัดอบรมการใช้งานและปรับปรุงโปรแกรม 5. เก็บข้อมูลความพึงพอใจด้วยแบบสอบถามหลังผ่านการประเมิน

ขั้นตอน

ผลการเชื่อมโยงกับระบบ SAR

ระบบ e-Document

ระบบฐานข้อมูลที่ให้บริการโดย สกอ.

ผลการดำเนินงาน พัฒนาระบบฐานข้อมูล ให้มีการเชื่อมโยง กับระบบแฟ้มดิจิทอลออนไลน์ ประเมินความพึงพอใจหลังใช้งานของคณะวิชา มีผลระดับมาก (X = 3.44 , S.D = 0.50) ประเมินความพึงพอใจหลังใช้งานของผู้ประเมิน มีผลระดับมาก (X = 2.21 , S.D = 1.61)

สรุป 1. คณะวิชา ยังขาดระบบและกลไกสำหรับขับเคลื่อนที่ชัดเจน 2. ผู้ประเมินจึงไม่สามารถใช้งานระบบได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ข้อเสนอแนะ 1. ควรพัฒนาระบบฯ ที่ตอบสนองทุกระดับ และทั้งเกณฑ์ สมศ. และสกอ. 2. เสนอให้คณะวิชามีนโยบายการใช้งานระบบฯ อย่างเป็นรูปธรรม

? คำถาม - ตอบ