การจัดการสารสนเทศและ ระบบสารสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ระบบสารสนเทศ.
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
Information Systems in the Enterprise
วิชา การจัดการข้อมูล (Data Management) 3(2-2-5) บทที่ 3
หน่วย 6 การพัฒนาสารสนเทศ
Information System.
ประเภทของระบบสารสนเทศในองค์กร
ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
เรื่อง ประเภทของสาระสนเทศ 3.ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS)
CURADIO FEEDBACK SYSTEM TO PUBLIC
Executive Supported System
แนะนำการวิเคราะห์และการออกแบบ
รายวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
คำถาม กระทรวงใหม่ที่ดูแลทางด้าน IT ชื่อกระทรวงอะไร?
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
บทที่ 15 การออกแบบระบบ.
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 14
ลักษณะระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System)
กระบวนวิชา ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การเงิน.
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
Analyzing The Business Case
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ MIS Management Information System
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
บุคลากร (Peopleware) บุคลากรทางด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ค่อนข้างมีความจำเป็นที่ต้องมีความรู้หลากหลาย และมีความสนใจเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ เสมอ และคอยติดตามข่าวสารความเป็นไปของเทคโนโลยีทางด้านนี้
Information Technology
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
บทที่ 3 Planning.
โครงสร้างขององค์กร (Organization Structure)
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
ระบบสารสนเทศในองค์กรสมัยใหม่ (ศูนย์ข้อมูล)
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
ฐานข้อมูล Data Base.
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
การจัดการฐานข้อมูล.
ระบบสารสนเทศ เพื่อการสื่อสาร
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ และบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
บทที่ 7 ระบบสารสนเทศ(Information Systems)
Seminar in Information Knowledge and Technology Management ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
ระบบสารสนเทศย่อยทางธุรกิจ Business Information systems
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
1. ความหมายขององค์กรธุรกิจ องค์กรธุรกิจ หมายถึง กลุ่มคนซึ่งร่วมกันทำกิจกรรมทางธุรกิจเพื่อหวัง ผลตอบแทนเป็นกำไรและการลงทุน 2. ระบบสารสนเทศในเชิงธุรกิจ.
ข้อมูล (data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือ เหตุการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆที่ เป็นตัวเลข ข้อความหรือ รายละเอียดซึ่งอาจอยู่ใน รูปแบบต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบและการวิเคราะห์ระบบ
ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
[ บทที่ 3 ] ระบบสารสนเทศ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการสารสนเทศและ ระบบสารสนเทศ บทที่ 6 การจัดการสารสนเทศและ ระบบสารสนเทศ

ความสัมพันธ์ระหว่าง ข้อมูล สารสนเทศ ความรู้และปัญญา

การเปลี่ยนแปลงข้อมูลไปสู่สารสนเทศ ความรู้และปัญญา

หน้าที่ของระบบสารสนเทศ Environment Suppliers Organization Customers Information System Input Processing Output Feedback Regulatory Agencies Competitors Stockholders ลูกค้า (Customers) ผู้จัด ส่งสินค้า (Suppliers) คู่แข่งขัน (Competitors) ผู้ถือหุ้น (Stockholders) หน่วยงานที่ดูแลเกี่ยวกับกฎระเบียบ (Regulatory Agencies)

ประโยชน์ของระบบสารสนเทศ เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน เพิ่มผลผลิต เพิ่มคุณภาพในการบริการลูกค้า สร้างทางเลือกในการแข่งขัน

คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี มีความถูกต้องเชื่อถือได้ (Accuracy) สามารถตรวจสอบได้ (Verifiable) ความสมบูรณ์ (Completeness) ทันต่อการใช้งานหรือทันเวลา (Timeliness) ความกระชับ (Conciseness) ตรงประเด็นหรือตรงตามความต้องการ (Relevance)

ระดับการบริหารงานขององค์กร ได้แก่ ประธานกรรมการผู้จัดการ กรรมการบริหาร ได้แก่ ผู้จัดการฝ่ายต่างๆ ได้แก่ หัวหน้างาน หัวหน้าฝ่าย หัวหน้าแผนก

การบริหารงานด้านสารสนเทศ CEO (Chief Executive Officer) ผู้บริหารสูงสุดขององค์กร CIO (Chief Information Officer) ผู้บริหารฝ่ายสารสนเทศ COO (Chief Operating Officer) ผู้บริหารด้านการปฏิบัติการ CKO (Chief Knowledge Officer) ผู้บริหารที่รับผิดชอบด้านการบริหารและจัดการความรู้ในองค์กร

การจัดโครงสร้างของระบบสารสนเทศ 1 . สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลรายการ 4. สารสนเทศ สำหรับการวางแผนกลยุทธ์ 3. สารสนเทศสำหรับวางแผนยุทธวิธี 2. สารสนเทศสำหรับวางแผนการปฏิบัติงาน เป็นสารสนเทศที่สรุป มีรายละเอียดน้อย ใช้สำหรับการตัดสินใจและการวางแผนระยะยาว สารสนเทศจะถูกนำไปใช้ในการวางแผนตั้งแต่ 6 เดือนถึง 1 ปี (ระยะสั้น) ใช้สารสนเทศเพื่อช่วยสนับสนุน การดำเนินงานประจำวัน Database

ระบบสารสนเทศแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้ ระบบประมวลผลรายการ (TPS : Transaction Processing Systems) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS : Management Information Systems) ระบบสารสนเทศสำนักงาน (OIS : Office Information Systems) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS : Decision Support Systems) ระบบสนับสนุนผู้บริหารระดับสูง (ESS : Executive Support Systems)

การพัฒนาระบบสารสนเทศ การพัฒนาระบบสารสนเทศ หมายถึง กิจกรรมต่างๆ ที่ทำขึ้นเพื่อสร้างระบบสารสนเทศขึ้นในองค์กรไม่ว่าจะเป็นการสร้างระบบใหม่หรือปรับปรุงระบบเดิมที่มีอยู่แล้วให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ทำไมจึงต้องพัฒนาระบบสารสนเทศ องค์กรมีการเปลี่ยนแปลงหรือขยายใหญ่ขึ้น การเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี การแข่งขันทางด้านธุรกิจและบริการ ช่วยลดขั้นตอนในการทำงานหรือลดค่าใช้จ่าย สร้างภาพลักษณ์ขององค์กร

บุคลากรที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาระบบสารสนเทศ ผู้ใช้ระบบ (Users) นักวิเคราะห์ระบบ (SA : System Analyst) นักออกแบบระบบ (SD : System Designer) โปรแกรมเมอร์ (Programmer)

ส่วนประกอบที่สำคัญของการพัฒนาระบบสารสนเทศ 1. การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 2. การออกแบบระบบ (System Design) 3. การพัฒนาและติดตั้งระบบเพื่อใช้งาน (System Implementation)