การจัดการสารสนเทศและ ระบบสารสนเทศ บทที่ 6 การจัดการสารสนเทศและ ระบบสารสนเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่าง ข้อมูล สารสนเทศ ความรู้และปัญญา
การเปลี่ยนแปลงข้อมูลไปสู่สารสนเทศ ความรู้และปัญญา
หน้าที่ของระบบสารสนเทศ Environment Suppliers Organization Customers Information System Input Processing Output Feedback Regulatory Agencies Competitors Stockholders ลูกค้า (Customers) ผู้จัด ส่งสินค้า (Suppliers) คู่แข่งขัน (Competitors) ผู้ถือหุ้น (Stockholders) หน่วยงานที่ดูแลเกี่ยวกับกฎระเบียบ (Regulatory Agencies)
ประโยชน์ของระบบสารสนเทศ เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน เพิ่มผลผลิต เพิ่มคุณภาพในการบริการลูกค้า สร้างทางเลือกในการแข่งขัน
คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี มีความถูกต้องเชื่อถือได้ (Accuracy) สามารถตรวจสอบได้ (Verifiable) ความสมบูรณ์ (Completeness) ทันต่อการใช้งานหรือทันเวลา (Timeliness) ความกระชับ (Conciseness) ตรงประเด็นหรือตรงตามความต้องการ (Relevance)
ระดับการบริหารงานขององค์กร ได้แก่ ประธานกรรมการผู้จัดการ กรรมการบริหาร ได้แก่ ผู้จัดการฝ่ายต่างๆ ได้แก่ หัวหน้างาน หัวหน้าฝ่าย หัวหน้าแผนก
การบริหารงานด้านสารสนเทศ CEO (Chief Executive Officer) ผู้บริหารสูงสุดขององค์กร CIO (Chief Information Officer) ผู้บริหารฝ่ายสารสนเทศ COO (Chief Operating Officer) ผู้บริหารด้านการปฏิบัติการ CKO (Chief Knowledge Officer) ผู้บริหารที่รับผิดชอบด้านการบริหารและจัดการความรู้ในองค์กร
การจัดโครงสร้างของระบบสารสนเทศ 1 . สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลรายการ 4. สารสนเทศ สำหรับการวางแผนกลยุทธ์ 3. สารสนเทศสำหรับวางแผนยุทธวิธี 2. สารสนเทศสำหรับวางแผนการปฏิบัติงาน เป็นสารสนเทศที่สรุป มีรายละเอียดน้อย ใช้สำหรับการตัดสินใจและการวางแผนระยะยาว สารสนเทศจะถูกนำไปใช้ในการวางแผนตั้งแต่ 6 เดือนถึง 1 ปี (ระยะสั้น) ใช้สารสนเทศเพื่อช่วยสนับสนุน การดำเนินงานประจำวัน Database
ระบบสารสนเทศแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้ ระบบประมวลผลรายการ (TPS : Transaction Processing Systems) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS : Management Information Systems) ระบบสารสนเทศสำนักงาน (OIS : Office Information Systems) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS : Decision Support Systems) ระบบสนับสนุนผู้บริหารระดับสูง (ESS : Executive Support Systems)
การพัฒนาระบบสารสนเทศ การพัฒนาระบบสารสนเทศ หมายถึง กิจกรรมต่างๆ ที่ทำขึ้นเพื่อสร้างระบบสารสนเทศขึ้นในองค์กรไม่ว่าจะเป็นการสร้างระบบใหม่หรือปรับปรุงระบบเดิมที่มีอยู่แล้วให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทำไมจึงต้องพัฒนาระบบสารสนเทศ องค์กรมีการเปลี่ยนแปลงหรือขยายใหญ่ขึ้น การเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี การแข่งขันทางด้านธุรกิจและบริการ ช่วยลดขั้นตอนในการทำงานหรือลดค่าใช้จ่าย สร้างภาพลักษณ์ขององค์กร
บุคลากรที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาระบบสารสนเทศ ผู้ใช้ระบบ (Users) นักวิเคราะห์ระบบ (SA : System Analyst) นักออกแบบระบบ (SD : System Designer) โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
ส่วนประกอบที่สำคัญของการพัฒนาระบบสารสนเทศ 1. การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 2. การออกแบบระบบ (System Design) 3. การพัฒนาและติดตั้งระบบเพื่อใช้งาน (System Implementation)