Audio-visual communication

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Graphic Design for Video
Advertisements

บทที่ 6 การใช้สีสำหรับเว็บไซต์
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
สื่อการเรียนรู้ ความงามของศิลปะด้านจิตรกรรม ศ เรื่อง
น้ำหนักแสงเงา.
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
น้ำหนักแสงเงาหุ่นนิ่ง
การเขียนรูปร่าง รูปทรงเรขาคณิต
เรื่อง องค์ประกอบศิลป์ โดย นายสมพงษ์ ถาวรโชติวงศ์ โรงเรียนเบญจมราชาลัย
ใคร่ครวญ ความอ่อนไหว ชอบไตร่ตรอง ถ้าคุณเลือกรูปนี้
Mr.Ukrit Marang Chapter 1 : Multimedia Mr.Ukrit Marang Multimedia Chapter 1.
บทบาทของสีในสิ่งพิมพ์
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
สื่อคุณค่าพระวรสาร กราฟิกเบื้องต้น วิชาคอมพิวเตอร์ ม.1.
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
สิ่งพิมพ์ จัดทำเพื่อผู้อ่านเฉพาะกลุ่ม (ภายในหรือภายนอกองค์กร)
รูปแบบการจัดองค์ประกอบ
COMPOSITION องค์ประกอบศิลป์.
สื่อประกอบการเรียนรู้
ยินดีต้อนรับสู่ Visual Art Online
หินแปร (Metamorphic rocks)
วงจรสี.
รูปร่างและรูปทรง.
Web Design.
องค์ประกอบ Graphic.
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
ระบบอนุภาค.
บทที่ 4 องค์ประกอบศิลป์.
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน
CONTRAST- EMPHASIS.
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
Audio-visual communication
แสง สี ไฟ ในภาพยนตร์ Light Color Gaffer
Print & Electronic Media Production forAd. Pr. IMC
โดย พลตรี เอนก แสงสุก ผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการกองทัพไทย
ทฤษฏีสี หลักการใช้สี.
หลักการออกแบบ ครูอนุชา สุระถา MR.ANUCHA SURATHA ครูนฤศรณ์ วิมลประสาร MR.NARUSORN WIMONPRASARN.
Graphic Design Basic.
การจัดองค์ประกอบภาพ.
สี (Color).
พื้นฐานการออกแบบ Graphic Design
Principle of Graphic Design
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
Habitat Winter No. 14 “ สีสันสร้างอารมณ์ ”. Habitat Winter No. 14 การทาสีในแนวขวาง ให้ พื้นที่สีจากด้านล่างมาก ที่สุดไปน้อยที่สุด เพิ่ม ความสนุกสนานให้กับการ.
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
การนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ให้น่าสนใจได้อย่างไร
การสร้างสรรค์บทละคร.
IDS 3901 ค้นคว้าวิจัยงานออกแบบ
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
หลักองค์ประกอบทางศิลปะ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Audio-visual communication Communication arts theory Audio-visual communication

0 Introduction Design & Graphic Design Designer ตัวขับความหมาย Content: 0 Introduction Design & Graphic Design Designer ตัวขับความหมาย 1 Pictography Signs การสื่อความหมาย Sight การรับรู้ทางตา Scenery การเล่าเรื่อง 2 Composition Graphic Art องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบกราฟิก Color & Transparency Content: Font Logo Symbol Font Spacing Ranging / Align Identity 4 Graphic Publication & Information Film & Animation Multimedia Interactive Content: 0 Introduction Design & Graphic Design Designer ตัวขับความหมาย 1 Pictography Signs การสื่อความหมาย Sight การรับรู้ทางตา Scenery การเล่าเรื่อง 2 Composition Graphic Art องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบกราฟิก Color & Transparency Font Logo Symbol Font Spacing Ranging / Align Identity Graphic Publication & Information Film & Animation Multimedia Interactive

2 Composition องค์ประกอบ การออกแบบกราฟิก การออกแบบกราฟิก [1] องค์ประกอบ งานกราฟิก [2] การจัดวาง องค์ประกอบ 1. องค์ประกอบ งานกราฟิก -จุด เส้น ระนาบ (point-line-flat) -รูปร่าง รูปทรง ปริมาตร (figure) -มุมมอง (perspective) -พื้นผิว (texture) -ขนาด (scale) -สี (color) Content: 0 Introduction Design & Graphic Design Designer ตัวขับความหมาย 1 Pictography Signs การสื่อความหมาย Sight การรับรู้ทางตา Scenery การเล่าเรื่อง 2 Composition Graphic Art องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบกราฟิก Color & Transparency Font Logo Symbol Font Spacing Ranging / Align Identity Graphic Publication & Information Film & Animation Multimedia Interactive

2 Composition องค์ประกอบ การออกแบบกราฟิก 2.1 จุด เส้น ระนาบ (point-line-flat) จุด ไม่มีรูปทรง ไม่มีมิติ หรือ มิติ=0 จุด มีความหมาย เมื่อทำให้ปรากฏบนที่ว่าง จุด มีแรงผลัก แรงดูด ซึ่งกันและกัน เมื่อมันรวมกลุ่มกัน จุด ในจินตภาพ หรือจุดสมมุติ ใช้แทนตำแหน่ง ที่เกิดจากแกน x และ แกน y ตัดกัน และ ใช้กำหนดตำแหน่งสมมุติในความคิด จุด ที่นำมาต่อเรียงกันในแนวระนาบ จะเป็น เส้น (ระนาบ horizontal, vertical) จุด ที่นำมาเรียงกันในทุกทิศทาง จะเกิดรูปทรง และจุดที่นำมาเรียงกันนั้น มีสีที่แตกต่างกัน จะเกิดรูปภาพ ที่มีความหมาย Content: 0 Introduction Design & Graphic Design Designer ตัวขับความหมาย 1 Pictography Signs การสื่อความหมาย Sight การรับรู้ทางตา Scenery การเล่าเรื่อง 2 Composition Graphic Art องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบกราฟิก Color & Transparency Font Logo Symbol Font Spacing Ranging / Align Identity Graphic Publication & Information Film & Animation Multimedia Interactive

2 Composition องค์ประกอบ การออกแบบกราฟิก 2.1 จุด เส้น ระนาบ (point-line-flat) เส้น ทางทฤษฎี คือ จุดที่ต่อเรียงกันในแนวระนาบ หรือ เป็นทางยาว ไม่มีความกว้าง มีแต่ความยาว มีมิติ = 1 เส้น แสดงขอบเขตของรูปทรง เส้น ที่เกิดจากจุดที่เคลื่อนไหวได้ จะเกิดภาพเคลื่อนไหว เส้น ที่ให้ความหมาย และความรู้สึก มีหลายลักษณะ คือ ตรง โค้ง หักมุม คลื่น ฟันปลา ก้นหอย หนา สี คม มัว ประ เส้น ถูกวางได้หลายทิศทาง คือ ระนาบ (horizontal) ดิ่ง (vertical) เฉียง แนวลึก Content: 0 Introduction Design & Graphic Design Designer ตัวขับความหมาย 1 Pictography Signs การสื่อความหมาย Sight การรับรู้ทางตา Scenery การเล่าเรื่อง 2 Composition Graphic Art องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบกราฟิก Color & Transparency Font Logo Symbol Font Spacing Ranging / Align Identity Graphic Publication & Information Film & Animation Multimedia Interactive

2 Composition องค์ประกอบ การออกแบบกราฟิก 2.1 จุด เส้น ระนาบ (point-line-flat) เส้น ทางจินตภาพ หรือ เส้นสมมุติ เกิดจาก จุดสองจุดที่เรียงกันห่างๆ ตั้งแต่ 2 จุด ขึ้นไป (ระยะห่าง ระยะหนึ่ง) ได้แก่ เส้นแกนของรูปทรง เส้นรอบของรูปทรง เส้น โครงสร้าง หรือ เส้นที่ก่อให้เกิดมิติ โครงสร้างองค์ประกอบ (2 มิติ) โครงสร้างปริมาตร (3 มิติ) เส้น ให้ความรู้สึกที่แตกต่าง ตามลักษณะ (ตรง โค้ง หยัก) ทิศทางระนาบ (นอน ดิ่ง เฉียง) โครงสร้าง (2 มิติ, 3 มิติ) Content: 0 Introduction Design & Graphic Design Designer ตัวขับความหมาย 1 Pictography Signs การสื่อความหมาย Sight การรับรู้ทางตา Scenery การเล่าเรื่อง 2 Composition Graphic Art องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบกราฟิก Color & Transparency Font Logo Symbol Font Spacing Ranging / Align Identity Graphic Publication & Information Film & Animation Multimedia Interactive

2 Composition องค์ประกอบ การออกแบบกราฟิก 2.1 จุด เส้น ระนาบ (point-line-flat) ระนาบ คือ พื้นผิวที่ขยายออกไปแนวกว้าง แนวยาว เกิดระนาบ 2 มิติ ทรงเหลี่ยม ระนาบ คือ พื้นผิวที่ขยายออกไปทุกทิศทาง เกิดระนาบ 2 มิติ ทรงใดๆ ระนาบ คือ พื้นผิวที่ขยายออกจากศูนย์กลาง ไปทุกทิศทางเท่าๆ กัน เกิดระนาบ 2 มิติ ทรงกลม ถ้าการขยายออกไปอย่างมีสัดส่วน เกิดระนาบ 2 มิติ ทรงรี ระนาบ ที่เกิดจากพื้นผิว ที่ไม่มั่นคง เกิดระนาบคลื่น ระนาบขรุขระ Content: 0 Introduction Design & Graphic Design Designer ตัวขับความหมาย 1 Pictography Signs การสื่อความหมาย Sight การรับรู้ทางตา Scenery การเล่าเรื่อง 2 Composition Graphic Art องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบกราฟิก Color & Transparency Font Logo Symbol Font Spacing Ranging / Align Identity Graphic Publication & Information Film & Animation Multimedia Interactive

2 Composition องค์ประกอบ การออกแบบกราฟิก 2.1 จุด เส้น ระนาบ (point-line-flat) ระนาบ ที่มีพื้นผิวด้านหนึ่ง แผ่ขยายไปจรดอีกด้านหนึ่ง จะไม่เหลือช่องว่าง เกิดระนาบ 3 มิติ ระนาบ 2 ระนาบ ขึ้นไป วางซ้อนกัน หลายๆ ชั้น ทำให้เกิด รูปทรง ระนาบ ทางสถาปัตยกรรม มีขนาดพื้นผิว การจัดวาง และสัดส่วน หลากหลาย เช่น เพดาน ของประตู พื้น ระนาบ ทางจินตภาพ หรือ สมมุติ ไม่มีตำแหน่งที่แท้จริง สัมผัสไม่ได้ด้วยสายตา และผัสสะทั้งห้า ระนาบ ในคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย เส้น (line) และ สี (fill) ระนาบ มีหลายลักษณะ ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ เรียบ ขรุขระ ทึบ โปร่งแสง Content: 0 Introduction Design & Graphic Design Designer ตัวขับความหมาย 1 Pictography Signs การสื่อความหมาย Sight การรับรู้ทางตา Scenery การเล่าเรื่อง 2 Composition Graphic Art องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบกราฟิก Color & Transparency Font Logo Symbol Font Spacing Ranging / Align Identity Graphic Publication & Information Film & Animation Multimedia Interactive

2 Composition องค์ประกอบ การออกแบบกราฟิก 2.2 รูปร่าง รูปทรง ปริมาตร (figure) วัตถุทางกราฟิก ในทางทฤษฎี คือรูปทรง 3 มิติ พื้นผิวกระดาษ สามารถสร้าง ทัศนียภาพ (perspective) ให้ดูเป็น 3 มิติ ได้ (แต่แท้จริง ตัวมันเอง มี 2 มิติ) ซึ่งสามารถสร้าง อารมณ์จำลอง ได้ Content: 0 Introduction Design & Graphic Design Designer ตัวขับความหมาย 1 Pictography Signs การสื่อความหมาย Sight การรับรู้ทางตา Scenery การเล่าเรื่อง 2 Composition Graphic Art องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบกราฟิก Color & Transparency Font Logo Symbol Font Spacing Ranging / Align Identity Graphic Publication & Information Film & Animation Multimedia Interactive

2 Composition องค์ประกอบ การออกแบบกราฟิก 2.2 รูปร่าง รูปทรง ปริมาตร (figure) รูปร่าง เกิดจาก เส้นแบบต่างๆ ต่อกันจนเป็นรูปร่าง 2 มิติ รูปร่าง ทางกายภาพ (physical) คือ สิ่งที่มองเห็นทั่วไป ด้วยสายตา เช่น คน ดอกไม้ รถยนต์ (สายตามองเห็นเป็น 3 มิติ) รูปร่าง ทางจินตภาพ (imagine) หรือ free form คือ รูปทรงที่มนุษย์สมมุติขึ้นในจิต ใช้สื่อความหมาย และ อารมณ์รู้สึก รูปทรง คือ รูปร่างของวัตถุ สิ่งของ ที่เป็น 3 มิติแท้ (และมองเห็นเป็น 3 มิติด้วย) มี ปริมาตร-น้ำหนัก-ระยะ/ขนาด รูปทรง ไม่มีในทางจินตภาพ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ไร้ชีวิต และ มีชีวิต หรือ แบ่งเป็น 6 ชนิด (สังขารธรรม 6) วัตถุ พืช สัตว์ มนุษย์ เทพ ธรรม Content: 0 Introduction Design & Graphic Design Designer ตัวขับความหมาย 1 Pictography Signs การสื่อความหมาย Sight การรับรู้ทางตา Scenery การเล่าเรื่อง 2 Composition Graphic Art องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบกราฟิก Color & Transparency Font Logo Symbol Font Spacing Ranging / Align Identity Graphic Publication & Information Film & Animation Multimedia Interactive

2 Composition องค์ประกอบ การออกแบบกราฟิก 2.2 รูปร่าง รูปทรง ปริมาตร (figure) ปริมาตร คือ สิ่งบ่งบอก ลักษณะทางกายภาพ ของรูปทรง ปริมาตร ทางกราฟิก เกิดจากการใส่ สี พื้นผิว เส้น ให้วัตถุนั้น ดูมีน้ำหนัก มีขนาด ระยะ ปริมาตร ทางกราฟิก ส่งผลต่ออารมณ์ รู้สึก และ สื่อความหมาย Content: 0 Introduction Design & Graphic Design Designer ตัวขับความหมาย 1 Pictography Signs การสื่อความหมาย Sight การรับรู้ทางตา Scenery การเล่าเรื่อง 2 Composition Graphic Art องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบกราฟิก Color & Transparency Font Logo Symbol Font Spacing Ranging / Align Identity Graphic Publication & Information Film & Animation Multimedia Interactive

2 Composition องค์ประกอบ การออกแบบกราฟิก 2.3 มุมมอง (perspective) perspective ไม่มีในโลกของความเป็นจริง เพราะสิ่งที่เห็นนั้น แท้จริงคือ isometric 3 มิติ Content: 0 Introduction Design & Graphic Design Designer ตัวขับความหมาย 1 Pictography Signs การสื่อความหมาย Sight การรับรู้ทางตา Scenery การเล่าเรื่อง 2 Composition Graphic Art องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบกราฟิก Color & Transparency Font Logo Symbol Font Spacing Ranging / Align Identity Graphic Publication & Information Film & Animation Multimedia Interactive

2 Composition องค์ประกอบ การออกแบบกราฟิก 2.4 พื้นผิว (texture) พื้นผิว แบ่งออกเป็น 2 คือ พื้นผิวทางกายภาพ (กายสัมผัส) และ พื้นผิวที่มองเห็นด้วยตา (จักขุสัมผัส) พื้นผิว คือ การถักทอลวดลาย บนพื้นระนาบของวัตถุ หรือ สสาร (มีชีวิต และ ไม่มีชีวิต) พื้นผิว ทางกายภาพ บ่งบอก คุณสมบัติภายนอกของวัตถุ หรือ สสาร แต่ปิดบังลักษณะ ที่มันห่อหุ้มอยู่ พื้นผิว ทางจินตภาพ สามารถสื่อความหมาย ส่งผลต่อ อารมรณ์ รู้สึก พื้นผิว ทางกราฟิก สร้างการรับรู้ทางสายตา ผ่านไปสู่ อารมณ์ รู้สึก Content: 0 Introduction Design & Graphic Design Designer ตัวขับความหมาย 1 Pictography Signs การสื่อความหมาย Sight การรับรู้ทางตา Scenery การเล่าเรื่อง 2 Composition Graphic Art องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบกราฟิก Color & Transparency Font Logo Symbol Font Spacing Ranging / Align Identity Graphic Publication & Information Film & Animation Multimedia Interactive

2 Composition องค์ประกอบ การออกแบบกราฟิก 2.4 พื้นผิว (texture) พื้นผิว บ่งบอกลักษณะทางธรรมชาติของสิ่งนั้นๆ พื้นผิว จริงของวัตถุ ที่สัมผัสได้ด้วยมือ และ สายตา พร้อมกัน มีอิทธิพลต่อ อารมณ์ รู้สึก ในระดับสูง พื้นผิว รูปธรรม เกิดจากการกระทำของมนุษย์ เช่น ขีด ขูด เขียน ตัด ปะ และ การกระทำของธรรมชาติ เช่น รอยไฟไหม้ รอยฉีกขาด รอยทุบ กระแทก พื้นผิว กลมกลืน พื้นผิวขัดแย้ง Content: 0 Introduction Design & Graphic Design Designer ตัวขับความหมาย 1 Pictography Signs การสื่อความหมาย Sight การรับรู้ทางตา Scenery การเล่าเรื่อง 2 Composition Graphic Art องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบกราฟิก Color & Transparency Font Logo Symbol Font Spacing Ranging / Align Identity Graphic Publication & Information Film & Animation Multimedia Interactive

2 Composition องค์ประกอบ การออกแบบกราฟิก 2.5 ขนาด (scale) ขนาด บ่งบอก ชนิด ประเภทของ งานกราฟิก scale เป็นกฏเกณฑ์ ใช้อ้างอิง เปรียบเทียบ ปริมาตร ขนาด ระยะ เช่น มาตราส่วนในแผ่นที่ ภาพถ่ายผลมะม่วงที่ถ่ายเทียบกับหน้าคน scale มาตรฐานที่แน่นอน (ระบบเมตริก) scale มาตรฐานบริบท เช่น มด กับ มนุษย์ มีความรู้สึก ที่ต่างจาก มด กับ โลก scale ถูกนำไปใช้ หลายหน้าที่ ขึ้นอยู่กับ เวลา-สถานที่-บุคคล สัดส่วนของ scale บ่งบอก กริยา (อ้วน ผอม กว้าง แคบ) Content: 0 Introduction Design & Graphic Design Designer ตัวขับความหมาย 1 Pictography Signs การสื่อความหมาย Sight การรับรู้ทางตา Scenery การเล่าเรื่อง 2 Composition Graphic Art องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบกราฟิก Color & Transparency Font Logo Symbol Font Spacing Ranging / Align Identity Graphic Publication & Information Film & Animation Multimedia Interactive

2 Composition องค์ประกอบ การออกแบบกราฟิก 2.6 สี (color) สี เป็นตัวแสดง อารมณ์ สี ทางกายภาพ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ สีของแสง (มีแม่สีเป็น แดง เขียว น้ำเงิน และ สีของวัตถุ (มีแม่สีเป็น เหลือง น้ำเงิน แดง) สีมีน้ำหนัก (value) คือ สว่าง มืด สีมีความเข้ม (intensity) คือ สด ผสมกับสีอื่นให้เข้ม หรือจาง แม่สี จะถูกผสมให้เป็นสีต่างๆ วางสีตรงกันข้าม คู่กัน ทำให้เกิดความสดใส เรียกว่า คู่สี วรรณะสี สีอุ่น สีเย็น Content: 0 Introduction Design & Graphic Design Designer ตัวขับความหมาย 1 Pictography Signs การสื่อความหมาย Sight การรับรู้ทางตา Scenery การเล่าเรื่อง 2 Composition Graphic Art องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบกราฟิก Color & Transparency Font Logo Symbol Font Spacing Ranging / Align Identity Graphic Publication & Information Film & Animation Multimedia Interactive

2 Composition องค์ประกอบ การออกแบบกราฟิก Content: 0 Introduction Design & Graphic Design Designer ตัวขับความหมาย 1 Pictography Signs การสื่อความหมาย Sight การรับรู้ทางตา Scenery การเล่าเรื่อง 2 Composition Graphic Art องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบกราฟิก Color & Transparency Font Logo Symbol Font Spacing Ranging / Align Identity Graphic Publication & Information Film & Animation Multimedia Interactive

2 Composition องค์ประกอบ การออกแบบกราฟิก 2.6 สี (color) การนำสีไปใช้ในงาน ออกแบบกราฟิก -เลือกตามหลักจิตวิทยา และ ตามความหมาย ดำ=ความตาย ขาว=กลาง อ่อนน้อม บริสุทธิ์ ชมพู=สนใจ น้ำเงิน=พอใจ เขียว=เคารพตัวเอง เหลือง=พัฒนา ฟ้า=สร้างสรรค์ แดง=จริงจัง เชื่อมั่น Content: 0 Introduction Design & Graphic Design Designer ตัวขับความหมาย 1 Pictography Signs การสื่อความหมาย Sight การรับรู้ทางตา Scenery การเล่าเรื่อง 2 Composition Graphic Art องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบกราฟิก Color & Transparency Font Logo Symbol Font Spacing Ranging / Align Identity Graphic Publication & Information Film & Animation Multimedia Interactive

2 Composition องค์ประกอบ การออกแบบกราฟิก 2.6 สี (color) -เลือกตามยุคและแฟชั่น ส้ม=กระตือรือร้น ชมพู=บริสุทธิ์ ม่วง=หรูหรา แดง=พลัง กิเลส รัก กล้า อันตราย เหลือง=ร่าเริง สนุก เทา,เงิน=ปลอดภัย น่าเชื่อถือ ดำ=คลาสิก น้ำเงิน=มั่นคง มั่นใจ เทคโนโลยี เขียว=ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม eco-design น้ำตาล=สบายๆ สไตล์คลาสิก Content: 0 Introduction Design & Graphic Design Designer ตัวขับความหมาย 1 Pictography Signs การสื่อความหมาย Sight การรับรู้ทางตา Scenery การเล่าเรื่อง 2 Composition Graphic Art องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบกราฟิก Color & Transparency Font Logo Symbol Font Spacing Ranging / Align Identity Graphic Publication & Information Film & Animation Multimedia Interactive

แดง=พลัง กิเลส รัก กล้า อันตราย เหลือง=ร่าเริง สนุก ส้ม=กระตือรือร้น ชมพู=บริสุทธิ์ ม่วง=หรูหรา แดง=พลัง กิเลส รัก กล้า อันตราย เหลือง=ร่าเริง สนุก เทา,เงิน=ปลอดภัย น่าเชื่อถือ ดำ=คลาสิก น้ำเงิน=มั่นคง มั่นใจ เทคโนโลยี เขียว=ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม eco-design น้ำตาล=สบายๆ สไตล์คลาสิก ดำ=ความตาย ขาว=กลาง อ่อนน้อม บริสุทธิ์ ชมพู=สนใจ น้ำเงิน=พอใจ เขียว=เคารพตัวเอง เหลือง=พัฒนา ฟ้า=สร้างสรรค์ แดง=จริงจัง เชื่อมั่น

สีกับแฟชั่น Shopaholics Color Content: 0 Introduction Design & Graphic Design Designer ตัวขับความหมาย 1 Pictography Signs การสื่อความหมาย Sight การรับรู้ทางตา Scenery การเล่าเรื่อง 2 Composition Graphic Art องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบกราฟิก Color & Transparency Font Logo Symbol Font Spacing Ranging / Align Identity Graphic Publication & Information Film & Animation Multimedia Interactive

2 Composition องค์ประกอบ การออกแบบกราฟิก 2. การจัดวาง องค์ประกอบ งานกราฟิก -จังหวะ และ สมดุล -สมมาตร อสมมาตร -ซ้ำ เปลี่ยนแปลง -จังหวะ และ เวลา -จังหวะ และ ระยะ -พื้นหลัง และ ภาพ -การใช้กรอบ (foreground) -การจัดลำดับ -เลเยอร์ -โปร่ง ทึบ -ระบบสัญลักษณ์ -ระบบกริด Content: 0 Introduction Design & Graphic Design Designer ตัวขับความหมาย 1 Pictography Signs การสื่อความหมาย Sight การรับรู้ทางตา Scenery การเล่าเรื่อง 2 Composition Graphic Art องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบกราฟิก Color & Transparency Font Logo Symbol Font Spacing Ranging / Align Identity Graphic Publication & Information Film & Animation Multimedia Interactive

The Future of Thailand ?

End

3 Composition องค์ประกอบ การออกแบบกราฟิก การออกแบบกราฟิก [1] องค์ประกอบ งานกราฟิก [2] การจัดวาง องค์ประกอบ 1. องค์ประกอบ งานกราฟิก -จุด เส้น ระนาบ (point-line-flat) -รูปร่าง รูปทรง ปริมาตร (figure) -มุมมอง (perspective) -พื้นผิว (texture) -ขนาด (scale) -สี (color) 2.1 จุด เส้น ระนาบ (point-line-flat) จุด ไม่มีรูปทรง ไม่มีมิติ หรือ มิติ=0 จุด มีความหมาย เมื่อทำให้ปรากฏบนที่ว่าง จุด มีแรงผลัก แรงดูด ซึ่งกันและกัน เมื่อมันรวมกลุ่มกัน จุด ในจินตภาพ หรือจุดสมมุติ ใช้แทนตำแหน่ง ที่เกิดจากแกน x และ แกน y ตัดกัน และ ใช้กำหนดตำแหน่งสมมุติในความคิด จุด ที่นำมาต่อเรียงกันในแนวระนาบ จะเป็น เส้น (ระนาบ horizontal, vertical) จุด ที่นำมาเรียงกันในทุกทิศทาง จะเกิดรูปทรง และจุดที่นำมาเรียงกันนั้น มีสีที่แตกต่างกัน จะเกิดรูปภาพ ที่มีความหมาย เส้น ทางทฤษฎี คือ จุดที่ต่อเรียงกันในแนวระนาบ หรือ เป็นทางยาว ไม่มีความกว้าง มีแต่ความยาว มีมิติ = 1 เส้น แสดงขอบเขตของรูปทรง เส้น ที่เกิดจากจุดที่เคลื่อนไหวได้ จะเกิดภาพเคลื่อนไหว เส้น ที่ให้ความหมาย และความรู้สึก มีหลายลักษณะ คือ ตรง โค้ง หักมุม คลื่น ฟันปลา ก้นหอย หนา สี คม มัว ประ เส้น ถูกวางได้หลายทิศทาง คือ ระนาบ (horizontal) ดิ่ง (vertical) เฉียง แนวลึก เส้น ทางจินตภาพ หรือ เส้นสมมุติ เกิดจาก จุดสองจุดที่เรียงกันห่างๆ ตั้งแต่ 2 จุด ขึ้นไป (ระยะห่าง ระยะหนึ่ง) ได้แก่ เส้นแกนของรูปทรง เส้นรอบของรูปทรง เส้น โครงสร้าง หรือ เส้นที่ก่อให้เกิดมิติ โครงสร้างองค์ประกอบ (2 มิติ) โครงสร้างปริมาตร (3 มิติ) เส้น ให้ความรู้สึกที่แตกต่าง ตามลักษณะ (ตรง โค้ง หยัก) ทิศทางระนาบ (นอน ดิ่ง เฉียง) โครงสร้าง (2 มิติ, 3 มิติ) ระนาบ คือ พื้นผิวที่ขยายออกไปแนวกว้าง แนวยาว เกิดระนาบ 2 มิติ ทรงเหลี่ยม ระนาบ คือ พื้นผิวที่ขยายออกไปทุกทิศทาง เกิดระนาบ 2 มิติ ทรงใดๆ ระนาบ คือ พื้นผิวที่ขยายออกจากศูนย์กลาง ไปทุกทิศทางเท่าๆ กัน เกิดระนาบ 2 มิติ ทรงกลม ถ้าการขยายออกไปอย่างมีสัดส่วน เกิดระนาบ 2 มิติ ทรงรี ระนาบ ที่เกิดจากพื้นผิว ที่ไม่มั่นคง เกิดระนาบคลื่น ระนาบขรุขระ ระนาบ ที่มีพื้นผิวด้านหนึ่ง แผ่ขยายไปจรดอีกด้านหนึ่ง จะไม่เหลือช่องว่าง เกิดระนาบ 3 มิติ ระนาบ 2 ระนาบ ขึ้นไป วางซ้อนกัน หลายๆ ชั้น ทำให้เกิด รูปทรง ระนาบ ทางสถาปัตยกรรม มีขนาดพื้นผิว การจัดวาง และสัดส่วน หลากหลาย เช่น เพดาน ของประตู พื้น ระนาบ ทางจินตภาพ หรือ สมมุติ ไม่มีตำแหน่งที่แท้จริง สัมผัสไม่ได้ด้วยสายตา และผัสสะทั้งห้า ระนาบ ในคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย เส้น (line) และ สี (fill) ระนาบ มีหลายลักษณะ ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ เรียบ ขรุขระ ทึบ โปร่งแสง 1.2 รูปร่าง รูปทรง ปริมาตร (figure) วัตถุทางกราฟิก ในทางทฤษฎี คือรูปทรง 3 มิติ พื้นผิวกระดาษ สามารถสร้าง ทัศนียภาพ (perspective) ให้ดูเป็น 3 มิติ ได้ (แต่แท้จริง ตัวมันเอง มี 2 มิติ) ซึ่งสามารถสร้าง อารมณ์จำลอง ได้ รูปร่าง เกิดจาก เส้นแบบต่างๆ ต่อกันจนเป็นรูปร่าง 2 มิติ รูปร่าง ทางกายภาพ (physical) คือ สิ่งที่มองเห็นทั่วไป ด้วยสายตา เช่น คน ดอกไม้ รถยนต์ (สายตามองเห็นเป็น 3 มิติ) รูปร่าง ทางจินตภาพ (imagine) หรือ free form คือ รูปทรงที่มนุษย์สมมุติขึ้นในจิต ใช้สื่อความหมาย และ อารมณ์รู้สึก รูปทรง คือ รูปร่างของวัตถุ สิ่งของ ที่เป็น 3 มิติแท้ (และมองเห็นเป็น 3 มิติด้วย) มี ปริมาตร-น้ำหนัก-ระยะ/ขนาด รูปทรง ไม่มีในทางจินตภาพ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ไร้ชีวิต และ มีชีวิต หรือ แบ่งเป็น 6 ชนิด (สังขารธรรม 6) วัตถุ พืช สัตว์ มนุษย์ เทพ ธรรม ปริมาตร คือ สิ่งบ่งบอก ลักษณะทางกายภาพ ของรูปทรง ปริมาตร ทางกราฟิก เกิดจากการใส่ สี พื้นผิว เส้น ให้วัตถุนั้น ดูมีน้ำหนัก มีขนาด ระยะ ปริมาตร ทางกราฟิก ส่งผลต่ออารมณ์ รู้สึก และ สื่อความหมาย 1.3 มุมมอง (perspective) perspective คือ การเลียนแบบ สิ่งที่ตามองเห็น โดยคำนึงถึง ปริมาตร ขนาด ระยะ perspective ทางกราฟิก ส่งผลต่อ อารมณ์ รู้สึก เสมือนจริง (ไม่ใช่ของจริง) perspective ไม่มีในโลกของความเป็นจริง เพราะสิ่งที่เห็นนั้น แท้จริงคือ isomatric 3 มิติ 1.4 พื้นผิว (texture) พื้นผิว แบ่งออกเป็น 2 คือ พื้นผิวทางกายภาพ (กายสัมผัส) และ พื้นผิวที่มองเห็นด้วยตา (จักขุสัมผัส) พื้นผิว คือ การถักทอลวดลาย บนพื้นระนาบของวัตถุ หรือ สสาร (มีชีวิต และ ไม่มีชีวิต) พื้นผิว ทางกายภาพ บ่งบอก คุณสมบัติภายนอกของวัตถุ หรือ สสาร แต่ปิดบังลักษณะ ที่มันห่อหุ้มอยู่ พื้นผิว ทางจินตภาพ สามารถสื่อความหมาย ส่งผลต่อ อารมรณ์ รู้สึก พื้นผิว ทางกราฟิก สร้างการรับรู้ทางสายตา ผ่านไปสู่ อารมณ์ รู้สึก พื้นผิว บ่งบอกลักษณะทางธรรมชาติของสิ่งนั้นๆ พื้นผิว จริงของวัตถุ ที่สัมผัสได้ด้วยมือ และ สายตา พร้อมกัน มีอิทธิพลต่อ อารมณ์ รู้สึก ในระดับสูง พื้นผิว รูปธรรม เกิดจากการกระทำของมนุษย์ เช่น ขีด ขูด เขียน ตัด ปะ และ การกระทำของธรรมชาติ เช่น รอยไฟไหม้ รอยฉีกขาด รอยทุบ กระแทก พื้นผิว กลมกลืน พื้นผิวขัดแย้ง 1.5 ขนาด (scale) ขนาด บ่งบอก ชนิด ประเภทของ งานกราฟิก scale เป็นกฏเกณฑ์ ใช้อ้างอิง เปรียบเทียบ ปริมาตร ขนาด ระยะ เช่น มาตราส่วนในแผ่นที่ ภาพถ่ายผลมะม่วงที่ถ่ายเทียบกับหน้าคน scale มาตรฐานที่แน่นอน (ระบบเมตริก) scale มาตรฐานบริบท เช่น มด กับ มนุษย์ มีความรู้สึก ที่ต่างจาก มด กับ โลก scale ถูกนำไปใช้ หลายหน้าที่ ขึ้นอยู่กับ เวลา-สถานที่-บุคคล สัดส่วนของ scale บ่งบอก กริยา (อ้วน ผอม กว้าง แคบ 1.6 สี (color) สี เป็นตัวแสดง อารมณ์ สี ทางกายภาพ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ สีของแสง (มีแม่สีเป็น แดง เขียว น้ำเงิน และ สีของวัตถุ (มีแม่สีเป็น เหลือง น้ำเงิน แดง) สีมีน้ำหนัก (value) คือ สว่าง มืด สีมีความเข้ม (intensity) คือ สด ผสมกับสีอื่นให้เข้ม หรือจาง แม่สี จะถูกผสมให้เป็นสีต่างๆ วางสีตรงกันข้าม คู่กัน ทำให้เกิดความสดใส เรียกว่า คู่สี วรรณะสี สีอุ่น สีเย็น การนำสีไปใช้ในงาน ออกแบบกราฟิก -เลือกตามหลักจิตวิทยา และ ตามความหมาย ดำ=ความตาย ขาว=กลาง อ่อนน้อม บริสุทธิ์ ชมพู=สนใจ น้ำเงิน=พอใจ เขียว=เคารพตัวเอง เหลือง=พัฒนา ฟ้า=สร้างสรรค์ แดง=จริงจัง เชื่อมั่น -เลือกตามยุคและแฟชั่น ส้ม=กระตือรือร้น ชมพู=บริสุทธิ์ ม่วง=หรูหรา แดง=พลัง กิเลส รัก กล้า อันตราย เหลือง=ร่าเริง สนุก เทา,เงิน=ปลอดภัย น่าเชื่อถือ ดำ=คลาสิก น้ำเงิน=มั่นคง มั่นใจ เทคโนโลยี เขียว=ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม eco-design น้ำตาล=สบายๆ สไตล์คลาสิก ------------------------------------ 2. การจัดวาง องค์ประกอบ งานกราฟิก -จังหวะ และ สมดุล -สมมาตร อสมมาตร -ซ้ำ เปลี่ยนแปลง -จังหวะ และ เวลา -จังหวะ และ ระยะ -พื้นหลัง และ ภาพ -การใช้กรอบ (foreground) -การจัดลำดับ -เลเยอร์ -โปร่ง ทึบ -ระบบสัญลักษณ์ -ระบบกริด มีต่อ การจัดการ ออกแบบสิ่งพิมพ์ -ภาพประกอบ (illustration, picture) -ภาพถ่าย (photo) -ข้อความ เนื้อหา -ฟอนต์ รูปแบบ -ไดอะแกรม -วัสดุสื่อ -ขั้นตอนก่อนพิมพ์ ความต่อเนื่อง Content: 0 Introduction Design & Graphic Design Designer ตัวขับความหมาย 1 Basic Thinking Concept Creative Thinking Thinking Process 2 Witty Thinking 3 Pictography Signs การสื่อความหมาย Sight การรับรู้ทางตา Scenery การเล่าเรื่อง 4 Composition Graphic Art องค์ประกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบกราฟิก Color & Transparency 5 Print Design Illustration / Drawing Picture / Photo Copywriting Diagram Graphic Media 6 Typography Font Font Spacing Ranging / Align 7 Logy & Symbol Design Pictograph Symbol Logo Letter Mark Identity 8 Scope of Graphic Design Publication & Information Interactive Film & Animation Multimedia Type Web การออกแบบกราฟิก [1] องค์ประกอบ งานกราฟิก [2] การจัดวาง องค์ประกอบ 1. องค์ประกอบ งานกราฟิก -จุด เส้น ระนาบ (point-line-flat) -รูปร่าง รูปทรง ปริมาตร (figure) -มุมมอง (perspective) -พื้นผิว (texture) -ขนาด (scale) -สี (color) 2.1 จุด เส้น ระนาบ (point-line-flat) จุด ไม่มีรูปทรง ไม่มีมิติ หรือ มิติ=0 จุด มีความหมาย เมื่อทำให้ปรากฏบนที่ว่าง จุด มีแรงผลัก แรงดูด ซึ่งกันและกัน เมื่อมันรวมกลุ่มกัน จุด ในจินตภาพ หรือจุดสมมุติ ใช้แทนตำแหน่ง ที่เกิดจากแกน x และ แกน y ตัดกัน และ ใช้กำหนดตำแหน่งสมมุติในความคิด จุด ที่นำมาต่อเรียงกันในแนวระนาบ จะเป็น เส้น (ระนาบ horizontal, vertical) จุด ที่นำมาเรียงกันในทุกทิศทาง จะเกิดรูปทรง และจุดที่นำมาเรียงกันนั้น มีสีที่แตกต่างกัน จะเกิดรูปภาพ ที่มีความหมาย เส้น ทางทฤษฎี คือ จุดที่ต่อเรียงกันในแนวระนาบ หรือ เป็นทางยาว ไม่มีความกว้าง มีแต่ความยาว มีมิติ = 1 เส้น แสดงขอบเขตของรูปทรง เส้น ที่เกิดจากจุดที่เคลื่อนไหวได้ จะเกิดภาพเคลื่อนไหว เส้น ที่ให้ความหมาย และความรู้สึก มีหลายลักษณะ คือ ตรง โค้ง หักมุม คลื่น ฟันปลา ก้นหอย หนา สี คม มัว ประ เส้น ถูกวางได้หลายทิศทาง คือ ระนาบ (horizontal) ดิ่ง (vertical) เฉียง แนวลึก เส้น ทางจินตภาพ หรือ เส้นสมมุติ เกิดจาก จุดสองจุดที่เรียงกันห่างๆ ตั้งแต่ 2 จุด ขึ้นไป (ระยะห่าง ระยะหนึ่ง) ได้แก่ เส้นแกนของรูปทรง เส้นรอบของรูปทรง เส้น โครงสร้าง หรือ เส้นที่ก่อให้เกิดมิติ โครงสร้างองค์ประกอบ (2 มิติ) โครงสร้างปริมาตร (3 มิติ) เส้น ให้ความรู้สึกที่แตกต่าง ตามลักษณะ (ตรง โค้ง หยัก) ทิศทางระนาบ (นอน ดิ่ง เฉียง) โครงสร้าง (2 มิติ, 3 มิติ) ระนาบ คือ พื้นผิวที่ขยายออกไปแนวกว้าง แนวยาว เกิดระนาบ 2 มิติ ทรงเหลี่ยม ระนาบ คือ พื้นผิวที่ขยายออกไปทุกทิศทาง เกิดระนาบ 2 มิติ ทรงใดๆ ระนาบ คือ พื้นผิวที่ขยายออกจากศูนย์กลาง ไปทุกทิศทางเท่าๆ กัน เกิดระนาบ 2 มิติ ทรงกลม ถ้าการขยายออกไปอย่างมีสัดส่วน เกิดระนาบ 2 มิติ ทรงรี ระนาบ ที่เกิดจากพื้นผิว ที่ไม่มั่นคง เกิดระนาบคลื่น ระนาบขรุขระ ระนาบ ที่มีพื้นผิวด้านหนึ่ง แผ่ขยายไปจรดอีกด้านหนึ่ง จะไม่เหลือช่องว่าง เกิดระนาบ 3 มิติ ระนาบ 2 ระนาบ ขึ้นไป วางซ้อนกัน หลายๆ ชั้น ทำให้เกิด รูปทรง ระนาบ ทางสถาปัตยกรรม มีขนาดพื้นผิว การจัดวาง และสัดส่วน หลากหลาย เช่น เพดาน ของประตู พื้น ระนาบ ทางจินตภาพ หรือ สมมุติ ไม่มีตำแหน่งที่แท้จริง สัมผัสไม่ได้ด้วยสายตา และผัสสะทั้งห้า ระนาบ ในคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย เส้น (line) และ สี (fill) ระนาบ มีหลายลักษณะ ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ เรียบ ขรุขระ ทึบ โปร่งแสง 1.2 รูปร่าง รูปทรง ปริมาตร (figure) วัตถุทางกราฟิก ในทางทฤษฎี คือรูปทรง 3 มิติ พื้นผิวกระดาษ สามารถสร้าง ทัศนียภาพ (perspective) ให้ดูเป็น 3 มิติ ได้ (แต่แท้จริง ตัวมันเอง มี 2 มิติ) ซึ่งสามารถสร้าง อารมณ์จำลอง ได้ รูปร่าง เกิดจาก เส้นแบบต่างๆ ต่อกันจนเป็นรูปร่าง 2 มิติ รูปร่าง ทางกายภาพ (physical) คือ สิ่งที่มองเห็นทั่วไป ด้วยสายตา เช่น คน ดอกไม้ รถยนต์ (สายตามองเห็นเป็น 3 มิติ) รูปร่าง ทางจินตภาพ (imagine) หรือ free form คือ รูปทรงที่มนุษย์สมมุติขึ้นในจิต ใช้สื่อความหมาย และ อารมณ์รู้สึก รูปทรง คือ รูปร่างของวัตถุ สิ่งของ ที่เป็น 3 มิติแท้ (และมองเห็นเป็น 3 มิติด้วย) มี ปริมาตร-น้ำหนัก-ระยะ/ขนาด รูปทรง ไม่มีในทางจินตภาพ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ไร้ชีวิต และ มีชีวิต หรือ แบ่งเป็น 6 ชนิด (สังขารธรรม 6) วัตถุ พืช สัตว์ มนุษย์ เทพ ธรรม ปริมาตร คือ สิ่งบ่งบอก ลักษณะทางกายภาพ ของรูปทรง ปริมาตร ทางกราฟิก เกิดจากการใส่ สี พื้นผิว เส้น ให้วัตถุนั้น ดูมีน้ำหนัก มีขนาด ระยะ ปริมาตร ทางกราฟิก ส่งผลต่ออารมณ์ รู้สึก และ สื่อความหมาย 1.3 มุมมอง (perspective) perspective คือ การเลียนแบบ สิ่งที่ตามองเห็น โดยคำนึงถึง ปริมาตร ขนาด ระยะ perspective ทางกราฟิก ส่งผลต่อ อารมณ์ รู้สึก เสมือนจริง (ไม่ใช่ของจริง) perspective ไม่มีในโลกของความเป็นจริง เพราะสิ่งที่เห็นนั้น แท้จริงคือ isomatric 3 มิติ 1.4 พื้นผิว (texture) พื้นผิว แบ่งออกเป็น 2 คือ พื้นผิวทางกายภาพ (กายสัมผัส) และ พื้นผิวที่มองเห็นด้วยตา (จักขุสัมผัส) พื้นผิว คือ การถักทอลวดลาย บนพื้นระนาบของวัตถุ หรือ สสาร (มีชีวิต และ ไม่มีชีวิต) พื้นผิว ทางกายภาพ บ่งบอก คุณสมบัติภายนอกของวัตถุ หรือ สสาร แต่ปิดบังลักษณะ ที่มันห่อหุ้มอยู่ พื้นผิว ทางจินตภาพ สามารถสื่อความหมาย ส่งผลต่อ อารมรณ์ รู้สึก พื้นผิว ทางกราฟิก สร้างการรับรู้ทางสายตา ผ่านไปสู่ อารมณ์ รู้สึก พื้นผิว บ่งบอกลักษณะทางธรรมชาติของสิ่งนั้นๆ พื้นผิว จริงของวัตถุ ที่สัมผัสได้ด้วยมือ และ สายตา พร้อมกัน มีอิทธิพลต่อ อารมณ์ รู้สึก ในระดับสูง พื้นผิว รูปธรรม เกิดจากการกระทำของมนุษย์ เช่น ขีด ขูด เขียน ตัด ปะ และ การกระทำของธรรมชาติ เช่น รอยไฟไหม้ รอยฉีกขาด รอยทุบ กระแทก พื้นผิว กลมกลืน พื้นผิวขัดแย้ง 1.5 ขนาด (scale) ขนาด บ่งบอก ชนิด ประเภทของ งานกราฟิก scale เป็นกฏเกณฑ์ ใช้อ้างอิง เปรียบเทียบ ปริมาตร ขนาด ระยะ เช่น มาตราส่วนในแผ่นที่ ภาพถ่ายผลมะม่วงที่ถ่ายเทียบกับหน้าคน scale มาตรฐานที่แน่นอน (ระบบเมตริก) scale มาตรฐานบริบท เช่น มด กับ มนุษย์ มีความรู้สึก ที่ต่างจาก มด กับ โลก scale ถูกนำไปใช้ หลายหน้าที่ ขึ้นอยู่กับ เวลา-สถานที่-บุคคล สัดส่วนของ scale บ่งบอก กริยา (อ้วน ผอม กว้าง แคบ 1.6 สี (color) สี เป็นตัวแสดง อารมณ์ สี ทางกายภาพ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ สีของแสง (มีแม่สีเป็น แดง เขียว น้ำเงิน และ สีของวัตถุ (มีแม่สีเป็น เหลือง น้ำเงิน แดง) สีมีน้ำหนัก (value) คือ สว่าง มืด สีมีความเข้ม (intensity) คือ สด ผสมกับสีอื่นให้เข้ม หรือจาง แม่สี จะถูกผสมให้เป็นสีต่างๆ วางสีตรงกันข้าม คู่กัน ทำให้เกิดความสดใส เรียกว่า คู่สี วรรณะสี สีอุ่น สีเย็น การนำสีไปใช้ในงาน ออกแบบกราฟิก -เลือกตามหลักจิตวิทยา และ ตามความหมาย ดำ=ความตาย ขาว=กลาง อ่อนน้อม บริสุทธิ์ ชมพู=สนใจ น้ำเงิน=พอใจ เขียว=เคารพตัวเอง เหลือง=พัฒนา ฟ้า=สร้างสรรค์ แดง=จริงจัง เชื่อมั่น -เลือกตามยุคและแฟชั่น ส้ม=กระตือรือร้น ชมพู=บริสุทธิ์ ม่วง=หรูหรา แดง=พลัง กิเลส รัก กล้า อันตราย เหลือง=ร่าเริง สนุก เทา,เงิน=ปลอดภัย น่าเชื่อถือ ดำ=คลาสิก น้ำเงิน=มั่นคง มั่นใจ เทคโนโลยี เขียว=ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม eco-design น้ำตาล=สบายๆ สไตล์คลาสิก ------------------------------------ 2. การจัดวาง องค์ประกอบ งานกราฟิก -จังหวะ และ สมดุล -สมมาตร อสมมาตร -ซ้ำ เปลี่ยนแปลง -จังหวะ และ เวลา -จังหวะ และ ระยะ -พื้นหลัง และ ภาพ -การใช้กรอบ (foreground) -การจัดลำดับ -เลเยอร์ -โปร่ง ทึบ -ระบบสัญลักษณ์ -ระบบกริด มีต่อ การจัดการ ออกแบบสิ่งพิมพ์ -ภาพประกอบ (illustration, picture) -ภาพถ่าย (photo) -ข้อความ เนื้อหา -ฟอนต์ รูปแบบ -ไดอะแกรม -วัสดุสื่อ -ขั้นตอนก่อนพิมพ์ ความต่อเนื่อง