กรอบความคิด ห้องที่ ๔ The voice …That Unheard,but Meaningful เสียงร้อง... ที่ไม่มีใครได้ยิน แต่มี ความหมาย สมัชชาพัฒนาสังคมระดับชาติ ครั้งที่ ๑ ประจำปี ๒๕๕๖ เรื่อง “ เพิ่มช่องทางสิทธิ เพื่อลด ความเหลื่อมล้ำในสังคม ” วันพุธที่ ๑๔ – วันพฤหัสบดีที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมรามา การ์เด้นส์ กรุงเทพมหานคร
ชื่อ ชื่อ The voice …That Unheard, but Meaningful เสียงร้อง... ที่ไม่มีใครได้ยิน ชื่อ ชื่อ The voice …That Unheard, but Meaningful เสียงร้อง... ที่ไม่มีใครได้ยิน การมีส่วนร่วมของ ผู้ด้อยโอกาสและภาค ประชาชนในการเข้าสู่ระบบ การคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิ ผู้ด้อยโอกาสในชุมชน โจทย์
วัตถุประสง ค์ ๑. สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของ ภาคประชาชน และ ผู้ด้อยโอกาสในการคุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิ ๒. ระดมความคิดเพื่อกำหนด หน้าที่ต่อตนเองในฐานะ ผู้ด้อยโอกาส หรืออาสาสมัคร ในการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิ ผู้ด้อยโอกาส ๓. ระดมความคิดเพื่อตกผลึกใน การเสนอข้อเสนอแนะในเชิง นโยบาย
รองศาสตราจารย์ขัตติยา กรรณสูต คณะสังคมสงเคราะห์ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิม พระเกียรติฯ รองศาสตราจารย์ขัตติยา กรรณสูต คณะสังคมสงเคราะห์ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิม พระเกียรติฯ ประธาน ประจำห้อง ผู้ขับเคลื่อน กระบวนการ อาจารย์เจษฎา มิ่งสมร นักวิชาการอิสระ อาจารย์เจษฎา มิ่งสมร นักวิชาการอิสระ
เนื้อหาการสงเคราะห์ประเด็น สิทธิผู้ด้อยโอกาส ๑. การนำเสนอเนื้อหาจากงานวิจัย ๑. ๑การเข้าถึงกองทุนสวัสดิการ ชุมชนของผู้ด้อยโอกาส ๑. ๒สิทธิของคนไร้ที่พึ่ง ๑. ๓การมุ่งสู่สิทธิของคนไร้ทะเบียน ๒. เนื้อหาข้อเสนอเชิงนโยบายจากเวที ถอดบทเรียนศูนย์พิทักษ์สิทธิ ผู้ด้อยโอกาส ๓๓ ศูนย์ ๓. เนื้อหาจากเวทีผู้ด้อยโอกาส ๕ กลุ่ม ในเรื่องของสิทธิผู้ด้อยโอกาสในชุมชน
บทบาทและหน้าที่ประธาน ประจำห้อง ๑. ยกร่างเอกสาร เพื่อเสนอในห้องที่ ๔ (Input) ๑. ๑สถานการณ์ผู้ด้อยโอกาส ๑. ๒แนวคิด / หลักการในการขับเคลื่อน The voice …That Unheard,but Meaningful เสียงร้อง... ที่ไม่มีใครได้ยิน แต่มี ความหมาย ๑. ๓การมีส่วนร่วมและความสำคัญของ ภาคประชาชนและผู้ด้อยโอกาสในการ กำหนดหน้าที่ต่อตนเอง ชุมชน และ สังคม เพื่อนำไปสู่ข้อเสนอแนะเชิง นโยบาย ๑. ๔บทบาทของอาสาสมัคร ผู้ด้อยโอกาส ๑. ๕บทบาทและหน้าที่ของเครือข่ายที่ ทำงานกับผู้ด้อยโอกาสในการคุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิ ๑. ๖ข้อเสนอแนะ
บทบาทและหน้าที่ประธาน ประจำห้อง ( ต่อ ) ๒. เป็นการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย ๒. ๑วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อประเด็น สำคัญและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย สาธารณะจากห้องที่ ๔ ๒. ๒นำเสนอข้อเสนอเพื่อพิจารณาและ ยกร่างมติสมัชชาพัฒนาสังคม ระดับชาติ เพื่อปรับและแก้ไขตามมติ ของผู้เข้าร่วมสมัชชา ( วันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๖ ) ผู้เข้าร่วม กลุ่มผู้ด้อยโอกาส ๕ กลุ่ม ๘๐ – ๑๐๐ คน