งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พัฒนาทักษะการจัดกระบวนการการจัดการความรู้เพื่อโครงการจัดการความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขกับงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน ผศ สุนทรี วิทยานารถไพศาล ห้อง 405อาคารโอสถศาลา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พัฒนาทักษะการจัดกระบวนการการจัดการความรู้เพื่อโครงการจัดการความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขกับงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน ผศ สุนทรี วิทยานารถไพศาล ห้อง 405อาคารโอสถศาลา."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พัฒนาทักษะการจัดกระบวนการการจัดการความรู้เพื่อโครงการจัดการความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขกับงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน ผศ สุนทรี วิทยานารถไพศาล ห้อง 405อาคารโอสถศาลา คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ มิถุนายน 2550

2 Hello ท่านมาทำอะไรที่นี่ คาดหวังอะไร

3 วัตถุประสงค์ ทำความเข้าใจโครงการ
ปฏิบัติการ กระบวนการด้านทักษะการจัดการความรู้ ปฏิบัติการพัฒนา กระบวนการจัดการความรู้เพื่อบรรลุเป้าหมาย

4 การจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการพัฒนาแผนสร้างหน่วยจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อส่งเสริมสุขภาพ 4/4/2017 การจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อส่งเสริมสุขภาพ หน่วยปฎิบัติการวิจัยเภสัชศาสตร์สังคม (วจภส)

5 หลักการคุ้มครองผู้บริโภค
แนวทางการพัฒนาแผนสร้างหน่วยจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อส่งเสริมสุขภาพ 4/4/2017 หลักการคุ้มครองผู้บริโภค กระบวนการทางกฎหมาย(Law enforcement) กระบวนการ เฝ้าระวัง (Monitoring) กระบวนการคุ้มครองผู้บริโภค (Consumer Protections) หน่วยปฎิบัติการวิจัยเภสัชศาสตร์สังคม (วจภส)

6 บทบาทพันธมิตรในการคุ้มครองผู้บริโภค
แนวทางการพัฒนาแผนสร้างหน่วยจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อส่งเสริมสุขภาพ 4/4/2017 บทบาทพันธมิตรในการคุ้มครองผู้บริโภค การเฝ้าระวัง ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ สสจ อสม การรณรงค์สิทธิผู้บริโภค องค์กรคุ้มครองผู้บริโภค มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค สหพันธ์องค์กรผู้บริโภค กลุ่มศึกษาปัญหายา นักวิชาการ ฯลฯ ด้านการควบคุมตามกฎหมาย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและย สำนักงานคุ้มครองผู้บริโภค กระทรวงพาณิชย์ หน่วยปฎิบัติการวิจัยเภสัชศาสตร์สังคม (วจภส)

7 ภาคีเครือข่ายเพื่อจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค
แนวทางการพัฒนาแผนสร้างหน่วยจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อส่งเสริมสุขภาพ 4/4/2017 ภาคีเครือข่ายเพื่อจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค หน่วยปฎิบัติการวิจัยเภสัชศาสตร์สังคม (วจภส)

8 ความสัมพันธ์ภาคีเครือข่าย
แนวทางการพัฒนาแผนสร้างหน่วยจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อส่งเสริมสุขภาพ 4/4/2017 ความสัมพันธ์ภาคีเครือข่าย นักวิชาชีพ กลุ่ม ข กลุ่ม ก ไม่ว่าจะยึดตามแนวทฤษฎี The Fifth Discipline ของ Peter Senge หรือแนว Chaordic Management ของ Dee Hock ต่างก็มาบรรจบที่จุดเดียวกัน คือ การหลีกหนีให้ไกลจากการเป็นองค์การแบบควบคุมสั่งการ ยึดถือวัฒนธรรมอำนาจ เปลี่ยนมาเป็นวัฒนธรรมแนวราบ ความสัมพันธ์แบบเครือข่าย และให้อำนาจ (empower) แก่ผู้ปฏิบัติงาน ณ จุดของผู้ใช้บริการให้มากที่สุด ขณะเดียวกัน ก็จะต้องมีเครื่องมือยึดเหนี่ยวสมาชิกขององค์การ ให้มีจุดมุ่งมั่นไปในทางเดียวกัน มีเป้าหมายเชิงคุณค่าหรือแรงบันดาลใจร่วมกัน และมีการวัดความสำเร็จขององค์การตามเป้าหมายที่กำหนด ซึ่งเป็นทั้งพลังร่วมจากภายในองค์การ และพลังขับดันจากภายนอก ให้สมาชิกขององค์การมีความรู้สึกร่วมชะตากรรม ร่วมอุดมการณ์ เกิดการรวมตัวกันทำงานเชิงสร้างสรรค์ โดยการเรียนรู้ร่วมกันจากการปฏิบัติงาน ได้ผลลัพธ์ทั้งผลงานโดยตรง และเกิดการเรียนรู้ของสมาชิกในทางอ้อม สร้างสรรค์องค์การให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ กลุ่ม ค ผู้สื่อข่าว นักวิชาการ หน่วยปฎิบัติการวิจัยเภสัชศาสตร์สังคม (วจภส)

9 เทคโนโลยีสารสนเทศ กับการขับเคลื่อนพลังเครือข่าย

10

11 แนวทางการพัฒนาแผนสร้างหน่วยจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อส่งเสริมสุขภาพ
4/4/2017 กรณีศึกษา : การใช้ยาชุด ยาแก้ปวด เอ พี ซี ยาสูตรผสม และยาเด็กที่ไม่เหมาะสม ( พศ ) ข้อมูลยาชุด ข้อมูลยาซองแก้ปวด หลักการและแนวปฏิบัติขององค์การแห่งการเรียนรู้ ไม่ว่าจะยึดตามแนวทฤษฎี The Fifth Discipline ของ Peter Senge หรือแนว Chaordic Management ของ Dee Hock ต่างก็มาบรรจบที่จุดเดียวกัน คือ การหลีกหนีให้ไกลจากการเป็นองค์การแบบควบคุมสั่งการ ยึดถือวัฒนธรรมอำนาจ เปลี่ยนมาเป็นวัฒนธรรมแนวราบ ความสัมพันธ์แบบเครือข่าย และให้อำนาจ (empower) แก่ผู้ปฏิบัติงาน ณ จุดของผู้ใช้บริการให้มากที่สุด แต่ในขณะเดียวกัน ก็จะต้องมีเครื่องมือยึดเหนี่ยวสมาชิกขององค์การ ให้มีจุดมุ่งมั่นไปในทางเดียวกัน มีเป้าหมายเชิงคุณค่าหรือแรงบันดาลใจร่วมกัน และมีการวัดความสำเร็จขององค์การตามเป้าหมายที่กำหนด ซึ่งเป็นทั้งพลังร่วมจากภายในองค์การ และพลังขับดันจากภายนอก ให้สมาชิกขององค์การมีความรู้สึกร่วมชะตากรรม ร่วมอุดมการณ์ เกิดการรวมตัวกันทำงานเชิงสร้างสรรค์ โดยการเรียนรู้ร่วมกันจากการปฏิบัติงาน ได้ผลลัพธ์ทั้งผลงานโดยตรง การสร้างสรรค์องค์การให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ และเกิดการเรียนรู้ของสมาชิกขององค์การให้เป็นบุคคลเรียนรู้ การศึกษาวิจัยเรื่อง “การใช้ยาของชุมชน” “การใช้ยาผิดประเภท” และ การใช้ยาสูตร เอ พี ซี ในเมืองไทย ของ กศย หน่วยปฎิบัติการวิจัยเภสัชศาสตร์สังคม (วจภส)

12 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรื่อง ปัญหายาอันตรายทั้งใน ระดับชุมชนและระดับชาติ
แนวทางการพัฒนาแผนสร้างหน่วยจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อส่งเสริมสุขภาพ 4/4/2017 กรณีศึกษา : การใช้ยาชุด ยาแก้ปวด เอ พี ซี ยาสูตรผสม และยาเด็กที่ไม่เหมาะสม ( พศ ) ข้อมูลจากการศึกษาวิจัยเรื่อง “การใช้ยาของชุมชน” “การใช้ยาผิดประเภท” และ การใช้ยาสูตร เอ พี ซี ในเมืองไทย ของ กศย จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรื่อง ปัญหายาอันตรายทั้งใน ระดับชุมชนและระดับชาติ กลุ่มเครือข่ายสุขภาพ ร่วมใจกันรณรงค์เพื่อให้สังคมได้รับรู้ปัญหายาอันตรายและเรียกร้องการแก้ปัญหาจากรัฐ ได้รับการสนับสนุนจากสื่อสารมวลชน นักวิชาการและวิชาชีพ หลักการและแนวปฏิบัติขององค์การแห่งการเรียนรู้ ไม่ว่าจะยึดตามแนวทฤษฎี The Fifth Discipline ของ Peter Senge หรือแนว Chaordic Management ของ Dee Hock ต่างก็มาบรรจบที่จุดเดียวกัน คือ การหลีกหนีให้ไกลจากการเป็นองค์การแบบควบคุมสั่งการ ยึดถือวัฒนธรรมอำนาจ เปลี่ยนมาเป็นวัฒนธรรมแนวราบ ความสัมพันธ์แบบเครือข่าย และให้อำนาจ (empower) แก่ผู้ปฏิบัติงาน ณ จุดของผู้ใช้บริการให้มากที่สุด แต่ในขณะเดียวกัน ก็จะต้องมีเครื่องมือยึดเหนี่ยวสมาชิกขององค์การ ให้มีจุดมุ่งมั่นไปในทางเดียวกัน มีเป้าหมายเชิงคุณค่าหรือแรงบันดาลใจร่วมกัน และมีการวัดความสำเร็จขององค์การตามเป้าหมายที่กำหนด ซึ่งเป็นทั้งพลังร่วมจากภายในองค์การ และพลังขับดันจากภายนอก ให้สมาชิกขององค์การมีความรู้สึกร่วมชะตากรรม ร่วมอุดมการณ์ เกิดการรวมตัวกันทำงานเชิงสร้างสรรค์ โดยการเรียนรู้ร่วมกันจากการปฏิบัติงาน ได้ผลลัพธ์ทั้งผลงานโดยตรง การสร้างสรรค์องค์การให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ และเกิดการเรียนรู้ของสมาชิกขององค์การให้เป็นบุคคลเรียนรู้ ยาสูตร เอพีซี ยาเด็กที่ไม่เหมาะสม และยาอันตราย ได้มีการยกเลิก และแก้ไข สูตร หน่วยปฎิบัติการวิจัยเภสัชศาสตร์สังคม (วจภส)

13

14 การคุ้มครองผู้บริโภคเป็นภาระกิจของทุกคน
เศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ซับซ้อนขึ้น เทคโนโลยีที่แผ่ขยายไม่สิ้นสุด ความรู้ไม่เพียงพอกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป ย่อมมีผลกระทบกับภาระกิจหน้าที่ในการคุ้มครองผู้บริโภค รวมทั้งเป็นเหยื่อในฐานะผู้บริโภค ร่วมมือร่วมใจในการประสานเครือข่ายเพื่อเสริมสร้างการจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อส่งเสริมสุขภาพ

15 เครือข่ายประชาคมทั้งในระดับองค์กร ชุมชน และสังคม
พึงร่วมกันเรียนรู้ ร่วมกันจัดการความรู้ให้มีลักษณะเป็นวัฏจักรที่เป็นพลวัตสืบเนื่องกัน ระหว่างการสร้าง ความรู้ การถ่ายทอดความรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการใช้ความรู้อย่างสร้างสรรค์ เพื่อสรรค์สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน


ดาวน์โหลด ppt พัฒนาทักษะการจัดกระบวนการการจัดการความรู้เพื่อโครงการจัดการความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขกับงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน ผศ สุนทรี วิทยานารถไพศาล ห้อง 405อาคารโอสถศาลา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google