นวัตกรรมส่งเสริมสุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2554 โดย น.ส. พัชรพร การปลื้มจิตต์ กลุ่มงาน อนามัยแม่และเด็ก
ไม้ T วัดกราฟ ชื่อนวัตกรรม
ที่มา อุปกรณ์ช่วยวัดกราฟ การทำกราฟประเมินการเจริญเติบโตช่วยบอกสัดส่วนเด็ก เช่น ทำให้ทราบรายปกติแยกจากรายที่อยู่ในภาวะเสี่ยง เช่น เด็กสมส่วน เด็กอ้วน เด็กเริ่มอ้วน เด็กผอม เด็กค่อนข้างผอม เป็นต้น วิธีการทำกราฟจะอยู่ในสมุดฉีดวัคซีนสีชมพูซึ่งบอกรายละเอียดการทำกราฟ ทั้ง 3 กราฟ ซึ่งผู้ปกครองสามารถเรียนรู้วิธีการทำได้ด้วยตนเอง แต่ส่วนใหญ่ผู้ปกครองยังไม่ให้ความสนใจการทำกราฟเท่าที่ควร
กราฟแสดงการเจริญเติบโต น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ น้ำหนักตามเกณฑ์อายุ กราฟแสดงการเจริญเติบโต น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง 04/04/60
การเข้ารับบริการฉีดวัคซีน ผู้รับบริการจะต้องทำตามขั้นตอนดังนี้ การเข้ารับบริการฉีดวัคซีน ผู้รับบริการจะต้องทำตามขั้นตอนดังนี้
การสอนวิธีการทำกราฟ
การแปลผลจากการทำกราฟ
จากปัญหาที่พบเมื่อมีผู้รับบริการมาเข้าใช้บริการอย่างต่อเนื่อง
เกิดนวัตกรรม เพื่อการส่งเสริมสุขภาพ ไม้บรรทัดธรรมดา ไม้Tวัดกราฟ
การดำเนินการและอุปกรณ์ ได้มีการทดลองใช้และ ปรับให้ตรงความต้องการของผู้รับบริการ รูปแบบที่ 1 รูปแบบที่ 2 ขนาดใหญ่เกินไปพบว่ากาวญี่ปุ่นที่ติดทำให้ฝืดเมื่อต้องเลื่อนระดับสเกล ทำมุมไม่ตรง สีใส กำหนดจุดวัดสเกลได้ยาก
ขนาดกะทัดรัดพอดีกับการใช้งาน มุมฉากชัดเจน ทำมุมคมชัด รูปแบบที่ 3 ขนาดกะทัดรัดพอดีกับการใช้งาน มุมฉากชัดเจน ทำมุมคมชัด สีสันทึบแสงตัดกับกระดาษกราฟ มองเห็นสเกลและ กำหนดจุดได้ชัดขึ้น - ตัวเลื่อนขึ้น-ลงง่าย หลังเปลี่ยนเป็นเยื่อกาว
เปรียบเทียบการใช้ไม้บรรทัดแบบเดิม กับ ไม้ T วัดกราฟ วิธีการใช้ กำหนดจุดด้านนอกกราฟบริเวณตัวเลขฝั่งซ้ายก่อนตีเส้น แล้วตีเส้นแนวขวาง หลังจากนั้นกำหนดจุดด้านล่างตรงกับอายุแล้วตีขึ้นบนเป็นแนวตรง หาจุดทับกันแล้วแปลผลตามสีกราฟใช้เวลา 4 นาที ถึง 5 นาที
เปรียบเทียบการใช้ไม้บรรทัดแบบเดิม กับ ไม้ T วัดกราฟ วิธีการใช้ วางแนวไม้บรรทัดแนวตั้งให้ตรงกับขอบล่างที่กำหนด ส่วนด้านข้างเลื่อนขึ้นลงกับตัวเลขที่กำหนด และกดจุดตรงมุมที่ได้เพื่อแปลผล ใช้เวลาเฉลี่ย 1 นาที ถึง 2 นาที 15 วินาที
เปรียบเทียบการใช้ไม้บรรทัดแบบเดิม กับ ไม้ T วัดกราฟ
ผลลัพธ์ / การเปลี่ยนแปลง ผลลัพธ์ที่ได้แบ่งป็นประเด็นหัวข้อ และคำประเมินความคิดเห็นของผู้รับบริการที่สุ่มเลือก 32 ราย ดังนี้ 1. ช่วยในเรื่องลดเวลาในการรอรับบริการ ซึ่งพบว่าค่าเฉลี่ยความต่างการใช้ไม้บรรทัดแบบเดิมกับไม้ T วัดกราฟประมาณ 3 นาที 45 วินาที ส่วนใหญ่ แสดงความคิดเห็นว่า สะดวกรวดเร็วกว่าเดิม ประหยัดเวลามากขึ้น ใช้เวลาไม่นาน ใช้เวลาน้อย (ไว) วัดกราฟได้เร็วขึ้น 2.ช่วยในเรื่องความสะดวกในการใช้ เกิดความพึงพอใจ และเห็นเป็นเรื่องง่ายมากขึ้นในการทำกราฟ จากการทำประเมินส่วนใหญ่แสดงความคิดเห็นว่า สะดวก ง่ายต่อการทำกราฟ สะดวกในการประเมินกราฟ ง่ายในการใช้ สะดวกเข้าใจง่าย
ผลลัพธ์ / การเปลี่ยนแปลง ผลลัพธ์ที่ได้แบ่งป็นประเด็นหัวข้อ และคำประเมินความคิดเห็นของผู้รับบริการที่สุ่มเลือก 32 ราย ดังนี้ 3.ลดการกะระยะที่ยากด้วยสายตา ซึ่งเป็นอุปสรรคที่พบได้ค่อนข้างบ่อย เช่น กราฟเส้นลายตา ไม่อยากทำเพราะมองไม่ชัด 4.ช่วยทำให้มีพื้นที่ในการนั่งประเมินทำกราฟ 5.จากการสังเกต การมีอุปกรณ์เสริมทำให้ผู้รับบริการสามารถประเมินกราฟด้วยตนเองได้ไม่ยากและเมื่อมีอุปกรณ์ช่วยลดเวลาทำให้เกิดความสนใจ เกิดความเข้าใจในการทำกราฟมากขึ้น
อุปกรณ์ / ต้นทุนการผลิต 1. เยื่อกาว 2. มีดคัตเตอร์ 3. แผ่นอะครีลิค แผ่นอะครีลิค ขนาด 30 ซม. x 30 ซม. ๑ แผ่น ราคา 68 บาท เยื่อกาว ขนาด 1/4 1 ม้วน ราคา 7 บาท ใบมีดคัตเตอร์ 1 อัน ราคา 90 บาท กำลังการผลิต ตัดอะครีลิค 3 แผ่น ราคา 204 บาท ประดิษฐ์ไม้ T วัดกราฟ ได้ 18 อัน เฉลี่ยราคา ไม้ T วัดกราฟ = 12.22 บาท รวมราคาเฉลี่ยผันผวน ไม่เกิน 1๕ บาท/ 1 อัน
สวัสดีค่ะ