การจัดทำทะเบียนมะเร็ง CANCER REGISTRATION

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
Advertisements

Continuous Quality Improvement
โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุงล่าสุด 06/07/50.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Max - (u’ s+ v’ e) w.r.t.  Y  - Y = s (output slack) X – X  i = e (excess input)
นพ.ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย
โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย
การใช้โปรแกรม Hospital Cost Analysis (พัฒนาโดย รศ.นพ.กำจร ตติยกวี)
การแทนค่าข้อมูล และ Primary Storage (Memory)
การจัดเก็บข้อมูลผู้ป่วย (1)
ภาวะแทรกซ้อนของการรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ที่ได้รับการรักษาโดยวิธีทดแทนไต ในโรงพยาบาลพุทธ- ชินราช ในช่วงปี ม.ค ธ.ค 2544 Complications.
OBJECTIVE To study the relationship between signs , symptoms or history of disease and routine urinalysis.
RESEARCH PROPOSAL A6 GROUP.
โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
นพ. พงศธร พอกเพิ่มดี 24 กันยายน 2555
บริการปฐมภูมิ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
S and T Publications Narongrit Sombatsompop
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร
Medication reconciliation
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
Group Learning HIVQUAL-T Forum
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
Cancer in Thailand Cancer in Thailand 2003.
แนวทาง/เครื่องมือในการคาดการณ์ความต้องการและอุปทานกำลังคน
ขั้นตอนการส่งและรับ ข้อมูล. การส่งข้อมูล จาก CRCN ให้กับ Site ขั้นตอนการ ดำเนินงาน ของ โรงพยาบาล ในการเก็บ ข้อมูล ขั้นตอนการ เก็บ และ วิธีการกรอก ข้อมูล.
ภูษิต ประคองสาย สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP)
เป้าหมาย สตรีอายุ ปี 240,279 ผลงาน 65,541 (27.28 %) ผิดปกติ/ ส่งต่อ
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
- กลุ่มโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน Acute coronary syndrome (ACS)
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
ภาณุวัฒน์ ประทุมขำ โปรแกรมเมอร์อาวุโส DAMASAC
คู่มือการบันทึกข้อมูล 7 แฟ้ม กลุ่มข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 04. ข้อมูลบริการผู้ป่วยนอก
ระบบข้อมูลและการเบิกจ่ายงบประมาณ
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
NAMPHONG DATA SYSTEM(NDS 1.0) by Samak Sonpirom
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สถานการณ์โรคมะเร็งในประเทศไทย
Health Script The Universal Health Data Center.
การวิจารณ์วรรณกรรมปฐมภูมิ
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
การพยาบาลเฉพาะทาง สาขา การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็ง
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
สถานการณ์โรคมะเร็ง จังหวัดเชียงใหม่ ปี
โดย สโรชา ช่างปั้น พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
วัคซีนป้องกันเอชพีวี
ณ โรงแรมรัตนโกสินทร์ อ.เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
สถานการณ์วัณโรค นางสาวภัทรา ทองสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
นายแพทย์สราวุฒิ บุญสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
การจัดตั้งหน่วยทะเบียนมะเร็ง และการควบคุมคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดทำทะเบียนมะเร็ง CANCER REGISTRATION Karnchana Daoprasert,RN Lamapang Cancer Registry Unit Lampang Cancer Center

History : Cancer in Thailand Since 1985 Chiang Mai 1983 - 1987 (1989) Cancer in Thailand 1988 - 1991 Vol. I (1993) Cancer in Thailand 1992 - 1994 Vol. II(1999) Cancer in Thailand 1993 - 1997 Vol. III(2003) Cancer in Thailand 1998 – 2000 Vol.IV (2006)*

History : Cancer in Lampang Cancer Incidence in Lampang Vol.II 1993-1997 (2002) Cancer Mortality in Lampang 1990-2002 (2003) Cancer Incidence and Mortality in Lampang Vol. III 1993- 1997 (2004) Cancer Survival in Lampang,1993-2002 (2005)

History : Cancer in Northern of Thailand Cancer Incidence in Lamphun ,1998-2002 (2006)* Phisanulok, 1998-2002 (2006)*

Cancer Registration Definition : Continuing process and Systematic collection of data The overall aim of cancer registration is to assess and control the impact of cancer on the community (population)

Cancer Registration The cancer registry (หน่วยงานทะเบียนมะเร็ง) is the office or institution which attempts to collect, store, analyze and interpret data on persons with cancer.

Cancer Registration Hospital- based cancer registry Population- based cancer registry

Hospital- based cancer registry is concerned with : work load of hospital for cancer improving the care of patients in hospitals. evaluation of treatment.

Hospital- based cancer registry collect data in new cancer cases in that hospitals without knowledge of the background population (the emphasis is on clinical care and hospital administration) number of new cancer cases per year (1 Janyary-31 December) provided relative frequency (%) by site

ตัวอย่างแผนผังการดำเนินงาน Hospital- based cancer registry แหล่งข้อมูล -ผู้ป่วยนอก, ผู้ป่วยใน, พยาธิวิทยา . หน่วยงานทะเบียนมะเร็ง - ตรวจสอบข้อมูล,เช็คซ้ำซ้อน - บันทึกข้อมูล - วิเคราะห์ข้อมูล รายงานประจำปี

Hospital- based cancer registry 10 อันดับผู้ป่วยที่มารับบริการศูนย์มะเร็ง ลำปาง 2548

Population-based cancer registry

Population-based cancer registry is concerned with: assessing the impact of cancer on the community.

SOURCE OF INFORMATION CANCER REGISTRY CLINICS CLINICS LABORATORIES VITAL STATISTICS DEATH CERTIFICATES VITAL STATISTICS DEATH CERTIFICATES HOSPITAL HOSPITAL

Cancer registration methodology New cancer cases in OPD and IPD Information: Registry number, name, residential address, date of birth, age, sex, date of DX, site, histo., date of last contact, status of patient, DX method, extension, staging (TNM), treatment, cost and follow-up.

การเก็บข้อมูลทะเบียนมะเร็ง Patient Identification Cancer identification Stage of disease at diagnosis Treatment Follow-up

ตัวแปรในการเก็บข้อมูลทะเบียนมะเร็ง PERSONAL IDENTIFICATION Personal Identification Number Names Sex Date of birth Address Marital status Nationality Ethnic group Religion

ตัวแปรในการเก็บข้อมูลทะเบียนมะเร็ง Occupation & Industry Year of immigration Country of birth of father/mother

ตัวแปรในการเก็บข้อมูลทะเบียนมะเร็ง The Tumour Cancer identification Incidence date Most valid basis of diagnosis Site of Primary Histology Behaviour Extent of Disease/Stage Site(s) of metastases Multiple primaries

ตัวแปรในการเก็บข้อมูลทะเบียนมะเร็ง Outcome Follow up Data Date of last contact/ Date of death Status at last contact >alive >dead >unknown Cause of death >dead of this cancer > dead of other cause

Cancer registration methodology Data collection : 3 way Active collection : Collection at source by registry staff visiting, abstracting, coding Passive collection : Notification by health care workers (notification forms) Copies of discharge forms, pathology reports, death certificates Mixture collection (Active+Passive)

เปรียบเทียบวิธีการเก็บข้อมูล Active collection ข้อดี ของบประมาณได้มากและง่าย สามารถเริ่มเก็บข้อมูลได้ทันที ถ้าบุคลากรมีคุณภาพ ข้อมูลเก็บได้ครบถ้วน บุคลากรได้ไปเก็บถึงแหล่งข้อมูล

เปรียบเทียบวิธีการเก็บข้อมูล Active collection ข้อเสีย เป็นภาระของทีมงาน ใช้บุคลากรมาก ค่าใช้จ่ายสูง ได้รับความร่วมมือน้อย งานสำเร็จยาก มีความล่าช้า ถ้าบุคลากรไม่มีคุณภาพ ข้อมูลไม่ครบถ้วน

เปรียบเทียบวิธีการเก็บข้อมูล Passive collection ข้อดี ได้จำนวนข้อมูลครบถ้วน ได้มีการติดตามผู้ป่วย หน่วยงานทะเบียนมะเร็งลดภาระงานไม่ต้องใช้บุคลากรมาก ทุกคนมีส่วนร่วม

เปรียบเทียบวิธีการเก็บข้อมูล Passive collection ข้อเสีย บุคลากรในแต่ละโรงพยาบาลเปลี่ยนบ่อย ขาดความต่อเนื่อง ข้อมูลสำคัญไม่ครบถ้วน

Cancer registration methodology ขั้นตอนอื่นๆ Coding ICD- O (ตำแหน่งมะเร็งและผลพยาธิวิทยา) บันทึกข้อมูลในโปรแกรม Canreg เช็คซ้ำซ้อนของข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล

5 อันดับแรกโรคมะเร็งของจังหวัดลำปาง (เพศชาย)พ.ศ.2541-2545 ที่มา : Cancer incidence and mortality in lampang, Thailand Vol. III,2541-2545.

5 อันดับแรกโรคมะเร็งของจังหวัดลำปาง(เพศหญิง)พ.ศ.2541-2545 ASR ต่อ 100,000 ที่มา : Cancer incidence and mortality in lampang, Thailand Vol. III,2541-2545.

ตัวอย่างแผนผังการดำเนินงาน Population- based cancer registry แหล่งข้อมูล - รพ. ชุมชน, สสอ.,รพศ.,รพ.เอกชน ข้อมูลไม่ครบถ้วน ส่งกลับ หน่วยงานทะเบียนมะเร็ง - ตรวจสอบข้อมูล,เช็คซ้ำซ้อน รายเก่า เติมข้อมูล/แก้ไขข้อมูล รายใหม่ ให้รหัสและบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล รายงาน

Uses Of Cancer Registry Data Describe the extent and nature of the cancer burden in the community Epidemiology Research Planning of cancer control programs. Evaluation of cancer care programs : - primary prevention - screening and early detection - treatment

ปัญหาจากการเก็บข้อมูลทะเบียนมะเร็ง ชื่อ-นามสกุล, เพศ,ที่อยู่ไม่ชัดเจน สะกดไม่ถูกต้อง ไม่มีอายุหรือวันเดือนปีเกิด วันวินิจฉัย ไม่มีข้อมูล/ข้อมูลไม่ครบ ขาดรายละเอียดของการให้ระยะของโรค ส่งแบบรายงานมาซ้ำซ้อนในครั้งเดียวกัน

สารก่อมะเร็งจากการประกอบอาชีพ มะเร็งปอด แอสเบสตอส พบในโรงงานผลิตฉนวนกันความร้อน โรงงานผ้าเบรกหรือผู้ที่สัมผัสฝุ่นจากผ้าเบรกเป็นประจำ สารซิลิกา พบในโรงงานโม่หินและโรงงานทำครก ก๊าซเรดอน พบในเมืองแร่ยูเรเนียม

สารก่อมะเร็งจากการประกอบอาชีพ มะเร็งตับ ผู้ที่สัมผัสกับสารเคมีไวนิลคลอไรด์ และอาร์ซินิค มะเร็งตับอ่อน ผู้ที่สัมผัสกับสารเคมีไฮโดรคาร์บอน เบนซีน มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ ผู้ที่ทำงานในอุตสาหกรรมเคมี ยาง สี และการทอผ้า (เนื่องจากสัมผัสสารกลุ่ม arylamines)

สารก่อมะเร็งจากการประกอบอาชีพ มะเร็งบริเวณช่องปากและคอหอย ผู้ที่ทำงานในโรงงานทอผ้าและโรงพิมพ์ มะเร็งบริเวณกล่องเสียง ผู้ที่สัมผัสสารแอสเบส น้ำมันเชื้อเพลิง ไอเสียเครื่องยนต์ แก๊สมัสตาร์ด กรดซัลฟูริค ยางพารา ขี้เลื่อย มะเร็งของช่องจมูกและไซนัส ผู้ที่ทำงานอาชีพช่างไม้

Thank you