งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถานการณ์วัณโรค นางสาวภัทรา ทองสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถานการณ์วัณโรค นางสาวภัทรา ทองสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถานการณ์วัณโรค นางสาวภัทรา ทองสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
กลุ่มเฝ้าระวังและพัฒนาข้อมูลวัณโรค สำนักวัณโรค

2 กรอบแนวคิดการป้องกันควบคุมวัณโรค
ผู้ป่วยทุกคนได้รับการวินิจฉัยในช่วงแรกโดยเร็วที่สุดที่เป็นไปได้ (Early detection) ดูแลรักษาผู้ป่วยให้หายขาดในการรักษาครั้งแรก (Successfully treat at first time round) ลดปัญหาวัณโรค ลดความล่าช้า ในการวินิจฉัย ลดระยะเวลาแพร่เชื้อในชุมชน ลดโอกาสเกิดเชื้อดื้อยา ลดความเสี่ยงการตายระหว่างรักษา Ref : Williams V(2013).Universal patient-centred care : can we achieve it? International Journal Tuberculosis and Lung Disease,17(10),s1-s3 สำนักวัณโรค

3 171 88 กรอบแนวคิดการป้องกันควบคุมวัณโรค มาตรการ ต่อปี
เป้าหมาย ระดับประเทศ เป้าหมายสู่ การลดโรค มาตรการ 12.5% ต่อปี 171 ต่อแสน ปชก. 88 [ ] อุบัติการณ์ วัณโรค ลดลง เร่งรัดการค้นหาผู้ติดเชื้อวัณโรคและผู้ป่วยในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมาย ดูแลรักษาผู้ติดเชื้อวัณโรคและผู้ป่วยตามมาตรฐานให้หายและกินยาครบ ผู้ป่วยวัณโรค ตรวจพบและรายงาน ความสำเร็จ การรักษา วัณโรค สำนักวัณโรค

4 บาทต่อรายดื้อยารุนแรง
สถานการณ์วัณโรคของไทย ป่วย1.2 แสน รายต่อปี ตาย13,000 รายต่อปี ค่ายา1.2ล้าน บาทต่อรายดื้อยารุนแรง ฿ “ ผู้ป่วยวัณโรคที่เริ่มรักษาล่าช้าแพร่เชื้อผ่านทางเดินหายใจคนเราเลือกลมหายใจไม่ได้ ” ไทย1/14 ประเทศ TB-TBHIV-MDR สูง สำนักวัณโรค

5 Tuberculosis situation in Thailand
Estimates of TB burden, 2017 Number (thousands) Rate (per population) Mortality (excludes HIV+TB) 8.6 ( ) 13 ( ) Mortality ( HIV+TB only) 3.9 ( ) 5.7 ( ) Incidence (include HIV+TB) 119 ( ) 172 ( ) Incidence (HIV+TB only) 10 ( ) 15 ( ) Incidence (MDR/RR-TB) 4.7 (3-6.3) 6.8 ( ) Population 2017 : 69 million WHO : Global Tuberculosis Report , 2017

6 ไทย : จำนวนผู้ป่วย N+R WHO Estimates vs Notification
TBCM

7 อุบัติการณ์วัณโรค(ต่อแสน ปชก.)ของประเทศไทย
ลดลงเฉลี่ย 1.4 % / yr. ลดลงเฉลี่ย 3.2 % / yr. ลดลงเฉลี่ย 0.5 % / yr.

8 อุบัติการณ์วัณโรคในประเทศไทย และค่าคาดประมาณของWHO : 100,000 ประชากร ปี 2000-2015
Reference: Tbthailand , TBCM 2010 (31/01/2017), WHO report

9 ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่+กลับเป็นซ้ำ % case notification rate

10 ร้อยละการตรวจพบผู้ป่วยวัณโรค (N+R) ที่ขึ้นทะเบียนการรักษา ปีงบประมาณ 2558-2559

11 จำนวนการตรวจและค้นพบผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำที่ขึ้นทะเบียนรักษา ในปี จำแนกราย สคร.

12 จำนวนการตรวจและค้นพบผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำที่ขึ้นทะเบียนรักษา ในปี ของ สคร.4 จำแนกรายจังหวัด

13 อัตราป่วยวัณโรคของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ
จำแนกตามกลุ่มอายุ ปี พ.ศ. 2559 TBCM

14 ร้อยละของผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อ HIV ได้รับยาต้านไวรัส ARV ในปี 2558-2560 จำแนกราย สคร.

15 ร้อยละการตรวจ DST กลุ่มผู้ป่วยรายใหม่และผู้ป่วยที่เคยได้รับการรักษามาก่อน ของ สคร.4 จำแนกรายจังหวัด ในปี 2560

16 treatment outcomes ในกลุ่มผู้ป่วย N+R ทุกประเภท จำแนกราย สคร. ในปี 2559

17 treatment outcome ในกลุ่มผู้ป่วย N+R ทุกประเภท ของ สคร

18 Treatment outcomes ในผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ ไตรมาสที่ 1/60 ของ สคร

19 แต่ละกลุ่มให้ทำกราฟนำเสนอโดยใช้ข้อมูล จาก www.tbcmthailand.org
โจทย์ แต่ละกลุ่มให้ทำกราฟนำเสนอโดยใช้ข้อมูล จาก ประเด็น Case finding (TB07) กลุ่ม New, Relapse (P+EP, B+, B-, unknown) ปีงบประมาณ Outcomes (TB08) กลุ่ม New, Relapse (P+EP, B+, B-, unknown) ปีงบประมาณ 2559 Outcomes (TB08) กลุ่ม New_P (B+, B-, unknown) Cohort 1/60 (PAกระทรวงสาธารณสุข)


ดาวน์โหลด ppt สถานการณ์วัณโรค นางสาวภัทรา ทองสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google