งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วัคซีนป้องกันเอชพีวี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วัคซีนป้องกันเอชพีวี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วัคซีนป้องกันเอชพีวี
4 Central purchasing vaccine, MCH Service delivey unit Community base (subdistrict health promotion fund) Area based ปัญหาที่ต้องแก้ที่จังหวัด

2 อุบัติการณ์ของมะเร็งปากมดลูกทั่วโลก
529,000 new cases ,000 deaths Estimated number of cases of cervical cancer (2008) The global distribution of cervical cancer cases per 100,000 individuals is shown, based on GLOBOCAN data from 2008. Reference Ferlay J, et al. GLOBOCAN 2008, Cancer Incidence and Mortality Worldwide. IARC CancerBase No.10; Lyon, France, 2010 Cases per 100,000 women per year 6.3 12.3 21.3 34.7 57 Ferlay J, et al. GLOBOCAN 2008, Cancer Incidence and Mortality Worldwide. IARC CancerBase No.10; Lyon, France, 2010 2 2

3 อุบัติการณ์ของมะเร็งปากมดลูกและอัตราการเสียชีวิต
(ต่อ 100,000 ประชากรเพศหญิง) GLOBOCAN 2008

4 อุบัติการณ์ของมะเร็งในหญิงไทย
ASR* *Age-standardized incidence rate Source: สถาบันมะเร็ง

5 มะเร็งที่พบมากในสตรีไทย
จำนวนผู้ป่วย/ปี จำนวนผู้เสียชีวิต/ปี มะเร็งเต้านม 12,566 4,427 มะเร็งปากมดลูก 9,999 5,216 มะเร็งที่พบมากในผู้หญิงไทย คือมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก แม้เราจะพบว่าจำนวนผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งเต้านมจะมากกว่าจำนวนผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก แต่ก็พบว่าในแต่ละปีผู้หญิงไทยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูก มากกว่ามะเร็งเต้านม นั่นคือ ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกมีโอกาสเสียชีวิตมากกว่ามะเร็งเต้านมนั่นเอง ผู้หญิงไทยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูก วันละ 14 คน GLOBOCAN (IARC) 2008

6 ลักษณะของมะเร็งปากมดลูก
แสดงภาพปากมดลูกปกติ และ มะเร็งปากมดลูก มะเร็งปากมดลูก เป็นเนื้อร้ายที่เกิดขึ้นบริเวณปากมดลูก สามารถแพร่ขยายลุกลามและกดเบียดอวัยวะใกล้เคียงมดลูกภายในอุ้งเชิงกราน และสามารถกระจายไปยังอวัยวะต่างๆ เช่น ปอด ตับ ลำไส้ ทำให้เกิดความผิดปกติของอวัยวะเหล่านั้นตามมาได้ ปากมดลูกปกติ มะเร็งปากมดลูก

7 สาเหตุของมะเร็งปากมดลูก
ไม่ได้เกิดจากกรรมพันธุ์ เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอชพีวีชนิดก่อมะเร็ง (99.7%) HPV กลุ่มเสี่ยงสูง ประกอบด้วยสายพันธุ์ 16, 18, 31, 33, 35, 39, 45, 51, 52, 56, 58, 59, 68 มะเร็งปากมดลูก ไม่ได้เกิดจากกรรมพันธุ์ ปัจจุบันเราทราบแน่นอนแล้วว่า การติดเชื้อไวรัสฮิวแมนแพพิโลมาซึ่งเรียกย่อๆว่าเชื้อ “เอชพีวี” โดยทั่วไปแล้วเชื้อเอชพีวีมักติดต่อได้จากการมีเพศสัมพันธ์หรือการสัมผัสโดยตรงทางผิวหนัง การใช้ถุงยางอนามัยไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ การติดเชื้อเอชพีวีนี้พบได้บ่อยมากแม้ว่าจะมีเพศสัมพันธ์เพียงครั้งเดียวก็ตาม HPV กลุ่มเสี่ยงต่ำประกอบด้วยสายพันธุ์ 6, 11, 42, 43, 44 Saslow D et al. CA Cancer J Clin 2007;57:7–28. p11, LH column.

8 การติดเชื้อไวรัสเอชพีวีพบบ่อยหรือไม่
เป็นโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ที่พบบ่อยที่สุด ส่วนใหญ่หายได้เอง แต่ส่วนน้อยติดเชื้อต่อเนื่อง สตรีที่มีเพศสัมพันธ์ มีโอกาสติดเชื้อ 80 % ในช่วงชีวิต สตรีมีโอกาสติดเชื้อ 46 % ใน 3 ปี แม้มีคู่นอนคนเดียว เพศสัมพันธ์ ไม่หาย หาย ติดไวรัส HPV เซลส์ปากมดลูก ผิดปกติ มะเร็งปากมดลูก

9 ติดเชื้อไวรัสเอชพีวีได้อย่างไร
ส่วนใหญ่ติดทางเพศสัมพันธ์ไม่จำเป็นต้องติดเฉพาะ เพศสัมพันธ์แบบมีการสอดใส่ ติดโดยการสัมผัสทางผิวหนังโดยตรง ถุงยางสามารถป้องกันการติดเชื้อได้บ้าง

10 การป้องกันมะเร็งปากมดลูก
1 หลีกเลี่ยง เพศสัมพันธ์ การมีคู่นอนหลายคน เพศสัมพันธ์ขณะอายุน้อย 2 ตรวจคัดกรองมะเร็งปากลูก” เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ที่ปากมดลูก ตรวจตั้งแต่ยังไม่เป็นโรค ต้องตรวจเป็นประจำ 3. ฉีดวัคซีน HPV เพื่อป้องกันการติดเชื้อ HPV ที่เป็นสาเหตุของมะเร็งปากมดลูก

11 ปัจจุบันมีวัคซีนป้องกันเอชพีวี 2 ชนิด
ชนิด 4 สายพันธุ์ ชนิด 2 สายพันธุ์ บริษัทผู้ผลิต MSD (GARDASIL) GlaxoSmithKline (CERVARIX) แอนติเจน 6, 11, 16, 18 16, 18 Indication มะเร็งปากมดลูก มะเร็งช่องคลอด มะเร็งปากช่องคลอด มะเร็งปากทวารหนัก หูดหงอนไก่ มะเร็งปากมดลูก อายุ 9-26 ปี (ถึง 45 ปี) หญิงและชาย 9-25 ปี เฉพาะหญิง ตารางการฉีด (IM) 9-14 ปี 2 เข็ม 0, 6 เดือน >15 ปี 0, 2,6 เดือน 0, 1,6 เดือน ประสิทธิศักย์(Efficacy) ต่อ CIN2/3 ร้อยละ 98 (ต่อสายพันธุ์ 16 และ 18) ร้อยละ 92.9

12 วัคซีนป้องกันเอชพีวี
ปัจจุบันกรมควบคุมโรคใช้วิธี E-bidding ในการจัดหาวัคซีน ซึ่งวัคซีนที่จัดหาได้คือ วัคซีนชนิด bivalent

13 ข้อควรเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีนป้องกันเอชพีวี
วัคซีน HPV ป้องกันได้เฉพาะโรคที่เกิดจากเชื้อ HPV ที่มีในวัคซีน และ ป้องกันข้ามสายพันธุ์ได้บ้าง วัคซีนไม่ป้องกันสายพันธุ์ที่มีการติดเชื้อไปแล้ว การตรวจเช็คมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งอื่นๆ ยังมีความจำเป็นอยู่ แม้ว่าจะได้รับการฉีดวัคซีนแล้วก็ตาม ไม่จำเป็นต้องตรวจหาเชื้อ HPV ก่อนการฉีดวัคซีน วัคซีนไม่สามารถรักษาโรคที่เกิดจากเชื้อ HPV ได้

14 ใครควรฉีดวัคซีนป้องกันเอชพีวี
เด็กวัยรุ่นทั้งหญิงและชาย ที่อายุมากกว่า 9 ปี แนะนำให้ฉีดช่วง ปี เพราะยังไม่เริ่มมีเพศสัมพันธ์ และตอบสนองต่อวัคซีนดีกว่า ถ้าฉีดผู้หญิงได้น้อยกว่า 80% การฉีดผู้ชายด้วย จึงจะคุ้ม ผู้หญิงทุกคนที่อายุน้อยกว่า 26 ปี พิจารณาให้ในหญิงทุกคนที่อายุ ปี ที่ยังมีความเสี่ยง พิจารณาผู้ชายทุกคนที่อายุ 9-21 ปี ชายรักชายทุกคนที่อายุ 9-26 ปี

15 โครงการนำร่องการให้บริการ วัคซีนป้องกันเอชพีวีในโรงเรียน

16 ความเป็นมา ปี 2555 คณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
คณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค  กรมควบคุมโรควางแผนและดำเนินการ โครงการนำร่องให้บริการวัคซีนป้องกันเอชพีวี ในโรงเรียน เริ่มปี 2557 เป้าหมาย: เด็กหญิง ป. 5 ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พิจารณาและเห็นชอบ

17 โครงการนำร่องให้บริการวัคซีนป้องกันเอชพีวี ในโรงเรียนเขตพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
วัตถุประสงค์ : เพื่อพิจารณาความเป็นไปได้ (feasibility) ของการให้บริการ และบรรจุวัคซีนป้องกันเอชพีวีเข้าสู่แผนงาน EPI ตารางวัคซีน : 2 เข็ม (ห่างกัน 6 เดือน) เข็มที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2557 (เทอมต้น) เข็มที่ 2 เดือนมกราคม 2558 (เทอมปลาย)

18 ความเป็นไปได้ของการนำวัคซีนป้องกันเอชพีวี
มาให้บริการในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Feasibility study) การยอมรับวัคซีนของผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่ และคุณครู ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนป้องกันเอชพีวี อาการไม่พึงประสงค์ภายหลังการได้รับวัคซีนป้องกันเอชพีวี การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายหลังเริ่มให้บริการ วัคซีนป้องกันเอชพีวีในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

19 การยอมรับวัคซีนป้องกันเอชพีวี ของผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่ และคุณครู

20 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนป้องกันเอชพีวี
ความครอบคลุมการให้บริการ เทอมที่ 1 ร้อยละ 92.2 เทอมที่ 2 ร้อยละ 92.4

21 อาการไม่พึงประสงค์ ภายหลังการได้รับวัคซีนป้องกันเอชพีวี

22 การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
ภายหลังให้บริการวัคซีนป้องกันเอชพีวี ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ความเห็นของเจ้าหน้าที่เรื่องจำนวน ผู้มาตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวนผู้มารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในสถานพยาบาลที่สุ่มสำรวจ HPV

23 สรุปผลการให้บริการวัคซีนเอชพีวีในโรงเรียน เขตพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปี 2557
ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่ และคุณครู ให้การยอมรับวัคซีนป้องกันเอชพีวี ในระดับสูง ผลการให้บริการในรอบที่ 1 และ 2 คือ ร้อยละ 92.2 และ 92.4 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนป้องกันเอชพีวีจากการสุ่มสำรวจ - เข็มที่ 1 ร้อยละ 91.0 - เข็มที่ 2 ร้อยละ 87.4 ไม่มีรายงานอาการไม่พึงประสงค์ภายหลังรับวัคซีนที่รุนแรง อัตราการสูญเสียวัคซีนป้องกันเอชพีวีอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน WHO ไม่พบผลกระทบของการให้บริการวัคซีนป้องกันเอชพีวี ต่อการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างชัดเจน

24 แผนการขยายการให้บริการวัคซีนเอชพีวี
2557 นำร่อง 2560 13 จังหวัด 2561 25 จังหวัด 2562 37 จังหวัด ทั่วประเทศ ล่าสุดมีการเสนอข่าวว่า สปสช. จะจัดหาวัคซีนป้องกันเอชพีวีในโรงเรียน ให้ครอบคลุมทั่วประเทศในปี 2560 ซึ่งขึ้นอยู่กับงบประมาณ

25


ดาวน์โหลด ppt วัคซีนป้องกันเอชพีวี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google