งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
สาขา โรคมะเร็ง

2 Service Plan สาขาโรคมะเร็ง
เป้าหมาย ลดอัตราตาย ลดอัตราป่วย ลดระยะเวลารอคอย เพิ่มการเข้าถึงบริการ การบริการสุขภาพได้มาตรฐาน

3 เป้าหมาย และ ประเด็นการพัฒนา ของ Service Plan มะเร็ง

4 Service Plan สาขา โรคมะเร็ง
แนวคิดในการกำหนด Service Plan สาขา โรคมะเร็ง

5 คัดกรอง ค้นหา มะเร็งระยะเริ่มแรก
2 Screening and Early Detection สร้างเสริม สุขภาพ 1 Primary Prevention แสดงการดูแล ทุกช่วงอายุ ดูแลแบบประคับประคอง 5 Palliative Care รักษาโรคมะเร็ง 4 Treatment วินิจฉัยโรคมะเร็ง 3 Diagnosis

6 แนวทางการดำเนินงานที่สำคัญ ในการขับเคลื่อน Service Plan สาขามะเร็ง

7 กำหนดยุทธศาสตร์การดำเนินงาน
Primary Prevention Screening and Early Detection Cancer Diagnosis Treatment Palliative Care ยุทธ_1 ยุทธ_7 Cancer Research ยุทธ_5 ยุทธ_2 Cancer Informatics ยุทธ_6 ยุทธ_3 ยุทธ_4

8 ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคมะเร็ง ที่สามารถป้องกันได้และคุ้มค่า
การป้องกันและการรณรงค์เพื่อลดความเสี่ยง (Primary Prevention) ปัจจัยความเสี่ยง ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคมะเร็ง ที่สามารถป้องกันได้และคุ้มค่า การ ออกกำลังกาย การป้องกันมะเร็ง จากการประกอบ อาชีพและ สิ่งแวดล้อม การส่งเสริมการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การบริโภคยาสูบ โรคพยาธิใบไม้ตับ ปัจจัยความเสี่ยงที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคมะเร็งที่สามารถป้องกันได้และคุ้มค่า การบริโภคยาสูบ การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การติดเชื้อไวรัส (ไวรัสตับอักเสบ (HBV) และ Human Papilloma Virus (HPV) โรคพยาธิใบไม้ตับ การส่งเสริมการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี การออกกำลังกาย การป้องกันมะเร็งจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม การติดเชื้อไวรัส

9 กำหนดตัวชี้วัด เป็น 2 ระดับ
Service Plan สาขาโรคมะเร็ง กำหนดตัวชี้วัด เป็น 2 ระดับ ระดับที่ 1 (Outcome Indicator) ตัวชี้วัด ระดับเป้าประสงค์ 2560 ระดับที่ 2 (Process Indicator) ตัวชี้วัด ระดับยุทธศาสตร์

10 ดูประสิทธิผลของการคัดกรอง
ระดับเป้าประสงค์ ลำดับ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด 1 ลดอัตราตาย อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ 2 ลดอัตราป่วย สัดส่วนของผู้ป่วย มะเร็งเต้านม และ มะเร็งปากมดลูก ระยะที่ 1 และ 2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 3 ลดระยะเวลาการรอคอย ร้อยละของผู้ป่วยที่มีระยะเวลาการรอคอยการรักษาด้วยรังสี ≤ 6 สัปดาห์ 4 สถานบริการสุขภาพได้ มาตรฐาน ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรฐานของสถานบริการสุขภาพในแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขามะเร็ง แต่ละระดับของโรงพยาบาล เป้าหมาย คือ ดูประสิทธิผลของการคัดกรอง

11 ยุทธศาสตร์ที่ 1 Primary Prevention
การป้องกันและการรณรงค์เพื่อลดความเสี่ยง จัดกิจกรรมตามแผน ร้อยละ 80

12 การตรวจคัดกรอง และ วินิจฉัยมะเร็งระยะต้น
ยุทธศาสตร์ที่ 2 Screening and Early Detection การตรวจคัดกรอง และ วินิจฉัยมะเร็งระยะต้น มะเร็งปากมดลูก 30-60 ปี ร้อยละ 80 มะเร็งเต้านม SBE ปีร้อยละ 80 CBE ปีร้อยละ 80

13 การตรวจวินิจฉัยโรคมะเร็ง
ยุทธศาสตร์ที่ 3 Cancer Diagnosis การตรวจวินิจฉัยโรคมะเร็ง พยาธิแพทย์ Date_Obtained Date_Report 2 สัปดาห์ (จำนวน 14 วัน)

14 การดูแลรักษาโรคมะเร็ง
ยุทธศาสตร์ที่ 4 Cancer Treatment การดูแลรักษาโรคมะเร็ง รักษาโรคมะเร็ง ผ่าตัด ภายใน 4 wks. เคมี ภายใน 6 wks. รังสี ภายใน 6 wks.

15 การวินิจฉัยโรคมะเร็ง (Date.......) 2 weeks
รพ. .... การรักษาโรคมะเร็ง ผ่าตัด (Date ) 4 weeks รพ. .... 6 weeks การรักษาโรคมะเร็ง เคมีบำบัด (Date ) รพ. .... 6 weeks การรักษาโรคมะเร็ง รังสีรักษา (Date ) รพ. .... Service Plan มอง ผู้ป่วย เป็นคนๆ เดียว (ผู้ป่วยเป็นหลัก...Patient focus) การวินิจฉัยและรักษา เป็น บริการที่ผู้ให้บริการจะไม่แยกส่วนของหน่วยที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ มองภาพเดียวกัน คือ .....ผู้ป่วยพึงได้เข้าถึงบริการภายในเวลาที่ควรจะเป็น เพื่อลดความเสี่ยงต่อการลุกลามของโรคจากการรอคอย

16 การรักษาเพื่อประคับประคองผู้ป่วย
ยุทธศาสตร์ที่ 5 Palliative Care การรักษาเพื่อประคับประคองผู้ป่วย ร้อยละของผู้ป่วยระยะท้ายที่ได้ รับการดูแลแบบประคับประคอง 2. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการจัดการระบบสนับ สนุนการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย ต้องมีแนวปฏิบัติ การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (ระยะท้าย) Home Care Unit Pain Clinic Strong Opioid Medication Palliative Care Unit ศูนย์มิตรภาพบำบัด ผู้ป่วยระยะท้าย หมายถึง ผู้ป่วยมะเร็งที่แพทย์ให้การวินิจฉัยเป็นระยะที่ 4 โรคมะเร็งมีการลุกลามไปอวัยวะสำคัญ การรักษาเป็นไปเพื่อการบรรเทาอาการปวดและอาการทุกข์ทรมาน และ การประเมิน PPS ≤ 30

17 Hospital Based Cancer Registry Population Based Cancer Registry
ยุทธศาสตร์ที่ 6 Cancer Informatics Hospital Based Cancer Registry Population Based Cancer Registry

18 การวิจัยด้านโรคมะเร็ง
ยุทธศาสตร์ที่ 7 Cancer Research การวิจัยด้านโรคมะเร็ง 1. มี Research Center อย่างน้อย 1 แห่ง/1 เขตบริการสุขภาพ (ปี 2560) 2. มีการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคมะเร็ง ในกลุ่ม ดังต่อไปนี้ Basic Science /Apply Research, Epidemiology Research, Clinical Research, Complementary and Alternative Medicine (CAM) โดย มีงานวิจัยอย่างน้อย 1 เรื่อง ต่อ 1 เขตบริการ ภายในปี 2558 2.2 มีงานวิจัยอย่างน้อย 1 เรื่องต่อ 1 จังหวัด ภายในปี 2560

19 สรุป ตัวชี้วัด สาขาโรคมะเร็ง

20 ตัวชี้วัดระดับเป้าประสงค์
ลดอัตราตาย (ตายจากมะเร็งตับ) ลดอัตราป่วย (ปากมดลูก เต้านม) ลดระยะเวลาการรอคอย (ระยะเวลาการรอคอยฉายแสง) สถานบริการสุขภาพได้มาตรฐาน มาตรฐานของกิจกรรม 4.2 สถานที่ เครื่องมือ และอุปกรณ์ 4.3 รับส่งต่อด้วยบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ

21 ตัวชี้วัดระดับยุทธศาสตร์ (อยู่ที่ จังหวัด/เขต พิจารณาเลือกใช้)
ลำดับ ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 1 ร้อยละ ของการจัดกิจกรรมตามแผนป้องกันและรณรงค์ เพื่อหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่อโรคมะเร็ง อย่างชัดเจน (Primary) 2 ร้อยละของการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม (เป้าหมาย 80%) (Screening and Early Detection) 3 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยทางพยาธิวิทยา ภายใน 2 สัปดาห์ (Diagnosis) 4 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อลดการ Refer ผู้ป่วยออกนอกเขตบริการสุขภาพเพื่อทำการวินิจฉัยโรคมะเร็งลดลง เป้าหมาย คือความ coverage

22 ตัวชี้วัดระดับยุทธศาสตร์ (อยู่ที่ จังหวัด/เขต พิจารณาเลือกใช้)
ลำดับ ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 5 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาหลัก ภายในเกณฑ์เวลาที่กำหนด 4 (Treatment) ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดภายใน 4 สัปดาห์ ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัด ภายใน 6 สัปดาห์ ระยะเวลาการรอคอยรับการรักษาด้วยรังสีรักษา ภายใน 6 สัปดาห์ 6 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อลดการ Refer ผู้ป่วยออกนอกเขตบริการสุขภาพเพื่อทำการรักษาโรคมะเร็งลง

23 ตัวชี้วัดระดับยุทธศาสตร์ (อยู่ที่ จังหวัด/เขต พิจารณาเลือกใช้)
ลำดับ ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 7 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการจัดการระบบการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 5 (Palliative care) 8 ร้อยละของผู้ป่วยระยะท้ายที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง 9 ระดับความสำเร็จของการทำทะเบียนมะเร็ง 6 (Cancer Informatics) ระดับความสำเร็จของการทำ Population–Based Cancer Registry (ทะเบียนมะเร็งระดับประชากร) ระดับความสำเร็จของการทำ Hospital–Based Cancer Registry (ทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล) 10 ระดับความสำเร็จของการจัดตั้ง Research Center และ ผลิตผลงาน วิจัย

24 1. ลดระยะเวลารอคอยการฉายแสง
กิจกรรมการบริการที่กำหนดจากผู้บริหาร เพื่อให้เห็นรูปธรรมอย่างชัดเจน เป็นลำดับต้นๆ 1. ลดระยะเวลารอคอยการฉายแสง 2. ขยายบริการเคมีบำบัดลงถึงระดับ M1

25 Thank you


ดาวน์โหลด ppt แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google