การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
Advertisements

การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การจัดทำรายงานประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เพื่อรับการประเมินภายนอก
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
การกำหนดสมรรถนะ (COMPETENY)
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
การอ่านและวิเคราะห์ SAR
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
การประเมินคุณภาพภายในกอง แผนงาน ประจำปีการศึกษา 2551 วันที่ 20 กรกฎาคม 2552 โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน.
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
Self-Assessment Report
1. ข้อมูลพื้นฐานของ 1) วิสัยทัศน์ 2) พันธกิจ 3) อำนาจหน้าที่
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
1 การประเมิน คุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน เขตการศึกษา วันที่
รูปแบบของการรายงานผลการ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2549/ ปีงบประมาณ คณะกรรมการประเมินคุณภาพ ภายใน 2. ข้อมูลของคณะ / หน่วยงาน ( โดยสังเขป ) 3.
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
1. ผู้บริหารและคณะกรรมการชุด ต่างๆ มีความมุ่งมั่นในการจัดทำ ระบบบริหารคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ใน ระบบบริหารคุณภาพอย่างสม่ำเสมอ.
2 มิถุนายน อ. ศมณพร สุทธิบาก ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (KPI)
การประกันคุณภาพ ระดับสถาบันอุดมศึกษา. สมาชิก นพ. พิสิษฐ์ พิริยาพรรณ (ผู้จัดการ) อ. สุภัทรา โกไศยกานนท์ (รองผู้จัดการ) ผศ. ดร. สุรสิทธิ์ วชิรขจร (รองผู้จัดการ)
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
หลักการเขียนโครงการ.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
หน่วยที่ 3 การจัดทำรายงานการประเมิน
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
รายงานการประเมินตนเอง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)

รายงานการประเมินตนเอง คืออะไร เป็นเอกสารที่หน่วยงานจัดทำขึ้นเพื่อรายงานผลการดำเนินงานให้สาธารณชนรับทราบประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตามดัชนี เกณฑ์ที่กำหนดไว้ รวม ถึงวิเคราะห์จุดแข็ง/ จุดเด่นและ จุดอ่อน/จุดด้อย ในการดำเนินการ แหล่งที่มา : รศ.ศิริพร ขัมภลิขิต การเขียนรายงานการประเมินตนเอง

การเขียนรายงานการประเมินตนเอง องค์ประกอบของ SAR ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินตามมาตรฐาน แนวทางการพัฒนา ภาคผนวก การเขียนรายงานการประเมินตนเอง

การเขียนรายงานการประเมินตนเอง ข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลเกี่ยวกับหน่วยงาน ได้แก่ ประวัติความเป็นมา วิสัยทัศน์/ปรัชญา วัตถุประสงค์ แผนการดำเนินงาน โครงสร้างการบริหาร โครงสร้างองค์กร ข้อมูลเกี่ยวกับหลักสูตร และนักศึกษา ได้แก่ จำนวนนักศึกษา จำแนกตามระดับการศึกษา และข้อมูลเกี่ยวกับหลักสูตร โปรแกรมการเรียน การเขียนรายงานการประเมินตนเอง

การเขียนรายงานการประเมินตนเอง ข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลเกี่ยวกับบุคลากร ได้แก่ จำนวนวุฒิการศึกษา ตำแหน่งทางวิชาการของบุคลากรสายวิชาการ และสายสนับสนุน ข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากร ได้แก่ อาคารสถานที่ งบประมาณ จำแนกตามประเภทรายจ่าย จุดเด่น ผลการดำเนินการสำคัญในรอบปี การเขียนรายงานการประเมินตนเอง

ผลการประเมินตามมาตรฐาน สรุปผลการดำเนินงานในแต่ละตัวบ่งชี้เปรียบเทียบ 3 ปีย้อนหลัง และผลการประเมินผลการดำเนินงานของแต่ละตัวบ่งชี้ตามเกณฑ์การประเมินที่หน่วยงานกำหนดไว้ในแบบฟอร์ม SAR 1 การรายงานผลการดำเนินงานของแต่ละตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยหน่วยงานควรบรรยายแนวทางการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายในแต่ละมาตรฐาน หรือชี้แจงเหตุผลในกรณีที่ผลการดำเนินงานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย การเขียนรายงานการประเมินตนเอง

ผลการประเมินตามมาตรฐาน สรุปผลการดำเนินงานในแต่ละตัวบ่งชี้เปรียบเทียบ 3 ปีย้อนหลัง และผลการประเมินผลการดำเนินงานของแต่ละตัวบ่งชี้ตามเกณฑ์การประเมินที่หน่วยงานกำหนดไว้ในแบบฟอร์ม SAR 1 การรายงานผลการดำเนินงานของแต่ละตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยหน่วยงานควรบรรยายแนวทางการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายในแต่ละมาตรฐาน หรือชี้แจงเหตุผลในกรณีที่ผลการดำเนินงานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย การเขียนรายงานการประเมินตนเอง

ผลการประเมินตามมาตรฐาน การรายงานผลการดำเนินการตามข้อสังเกตและข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบครั้งที่ผ่านมา รวมทั้งผลการดำเนินงานตามการพัฒนาที่หน่วยงานจัดทำเอง การนำเสนอจุดเด่นและจุดที่ควรพัฒนาในแต่ละมาตรฐาน การเขียนรายงานการประเมินตนเอง

การเขียนรายงานการประเมินตนเอง แนวทางการพัฒนา สรุปผลการดำเนินงานในแต่ละมาตรฐาน โดยชี้ให้เห็นจุดที่ควรพัฒนาให้ชัดเจน นำเสนอแนวทาง/แผนการพัฒนา (หากเป็นไปได้ควรกำหนดช่วงเวลาด้วย) การเขียนรายงานการประเมินตนเอง

การเขียนรายงานการประเมินตนเอง ภาคผนวก ข้อมูลตารางพื้นฐานสำหรับการประเมินภายใน ตารางรายละเอียดแต่ละตัวบ่งชี้ (ข้อมูลตามแบบฟอร์มการจัดเก็บข้อมูล) รายการเอกสารอ้างอิง อื่น ๆ การเขียนรายงานการประเมินตนเอง

การเขียนรายงานการประเมินตนเอง ขอขอบคุณ การเขียนรายงานการประเมินตนเอง