บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
Advertisements

ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
CSI1201 การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง Structured Programming
ปฐมนิเทศ การเขียนโปรแกรม ง30202.
หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
Quality Testing of Tests การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
การประเมินผลการเรียน
การตัดเกรด อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
4. Research tool and quality testing
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การวิเคราะห์ข้อสอบ Item analysis.
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์ เรื่อง Conditional Sentences
การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning
แบบสอบถาม ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป (ด้านสังคมเศรษฐกิจ) ส่วนที่ 2 ความรู้
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน.
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การวัดผล (Measurement)
แบบสอบถาม แบบทดสอบ แบบสัมภาษณ์ จิตพิสัย พุทธิพิสัย เครื่องมือที่ใช้
แบบทดสอบอิงกลุ่มอิงเกณฑ์
วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการศึกษา
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ความเป็นมา ในปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากในชีวิตประจำวันแทบทุกด้าน รวมถึงด้านของการศึกษาด้วย ผู้เรียนส่วนใหญ่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผู้วิจัยจึงเห็นแนวทางที่จะพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีความสอดคล้องกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน.
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
บท นำ ความ เป็นมา และ ความสำ คัญของ ปัญหา การเรียนการสอนที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน มี วัตถุประสงค์ประการหนึ่ง คือมุ่งปลูกฝังให้นักเรียน ได้ใฝ่รู้ใฝ่เรียนการปลูกฝังให้นักเรียนรักการอ่านจึงมี
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
หลักการออกแบบของ ADDIE model มีขั้นตอนดังนี้. 1
การใช้ข้อสอบกลางในการ สอบปลายปี
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา

การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้  ผู้ดำเนินการ ผู้ออกข้อสอบ ผู้ชำนาญทางด้านเนื้อหา ผู้ชำนาญทางด้านการวัด และประเมินผล

การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้รายข้อ  ความสอดคล้องของข้อสอบ กับจุดประสงค์การเรียนรู้  ความถูกต้องของเนื้อหา  ความยากของข้อสอบ เหมาะสมกับระดับชั้นของ ผู้เรียน  ความยากของข้อสอบแต่ละ ข้อ  ความเหมาะสมของภาษาที่ใช้  การเขียนข้อสอบให้เป็นไป ตามหลักการเขียนข้อสอบ

การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้ทั้งฉบับ  เลือกประเภทของ ข้อสอบให้เหมาะสมกับ เนื้อหาและพฤติกรรม  เลือกประเภทของ ข้อสอบให้เหมาะสมกับ การตรวจให้คะแนนและ การดำเนินการสอบ

 ความชัดเจนของ ภาษาและการสื่อความ ในการเขียนคำสั่ง / คำ ชี้แจง  ความตรงเชิงเนื้อหา และความตรงเชิง โครงสร้างของ ข้อสอบ  จำนวนข้อของ ข้อสอบทั้งฉบับต้อง เหมาะสมกับเวลาที่ใช้ สอบ

การวิเคราะห์ ข้อสอบหลัง นำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อหา ประสิทธิภาพและ ข้อบกพร่องของ ข้อสอบรายข้อและ ทั้งฉบับ หลังจากที่ นำข้อสอบไปใช้

ประโยชน์ของการ วิเคราะห์ข้อสอบหลัง นำไปใช้  ได้รับทราบข้อมูลพื้นฐานของ ตัวข้อสอบและคำตอบ  ในกรณีข้อสอบเลือกตอบจะ ทำให้ทราบประสิทธิภาพของ ตัวเลือก  ได้แนวทางในการสร้าง ข้อสอบที่ดี  ได้รับทราบข้อมูลในการ ปรับปรุงการเรียนการสอน  ได้ข้อสอบที่มีคุณภาพเก็บไว้ เพื่อสร้างคลังข้อสอบและ พัฒนาแบบสอบมาตรฐาน ต่อไป

การวิเคราะห์ข้อสอบ หลังนำไปใช้รายข้อ  การประเมินผลแบบ อิงกลุ่ม  ระดับความยากของ ข้อสอบ : p (Level of difficulty of the items)  อำนาจจำแนกของ ข้อสอบ : r (Discrimination of the items)  ประสิทธิภาพของตัว ลวง

ระดับความยากของ ข้อสอบ : p  ความหมาย สัดส่วนของคนที่ตอบ ข้อสอบข้อนั้นได้ถูก มีค่าอยู่ระหว่าง 0 ถึง + 1  สูตร p =  เกณฑ์ 0.20 < p < 0.80 จำนวนคนที่ตอบ ข้อสอบถูก จำนวนคนที่เข้า สอบทั้งหมด

การแปลความหมาย ค่า p ( ตัวถูก ) p ความหมาย 0.00 – 0.19 ยาก มาก 0.20 – 0.39 ค่อนข้างยาก 0.40 – 0.59 ปาน กลาง 0.60 – 0.79 ค่อนข้างง่าย 0.80 – 1.00 ง่าย มาก

อำนาจจำแนกของ ข้อสอบ : r  ความหมาย ความสามารถของ ข้อสอบในการจำแนก นักเรียนเก่งออกจาก นักเรียนกลุ่มอ่อน มีค่าอยู่ระหว่าง – 1 ถึง + 1  เกณฑ์ r > 0.20

 สูตร r = หรือ เมื่อ H = จำนวนคนที่ตอบ ถูกในกลุ่มสูง L = จำนวนคนที่ตอบ ถูกในกลุ่มต่ำ Nh = จำนวนคน ทั้งหมดในกลุ่มสูง Nl= จำนวนคน ทั้งหมดในกลุ่มต่ำ H – L Nh H – L Nl

การแปลความหมาย ค่า r ( ตัวถูก ) r ความหมาย r < 0.00 กลุ่มสูงตอบผิด กลุ่มต่ำตอบถูก r = 0.00 กลุ่มสูงและ กลุ่มต่ำตอบถูกเท่ากัน 0.01 – 0.90 จำแนกได้ต่ำ มาก ควรปรับปรุง 0.20 – 0.39 พอใช้ได้ 0.40 – 0.59 ดี 0.60 – 1.00 ดีมาก

ประสิทธิภาพของตัว ลวง  สัดส่วนของผู้เลือกตัว ลวง : p w สัดส่วนของคนที่เลือกตัว ลวงนั้นได้ถูก มีค่าอยู่ระหว่าง 0 ถึง + 1  สูตร p w =  เกณฑ์ p w > 0.05 จำนวนนักเรียนที่ เลือกตัวลวง จำนวนนักเรียน ทั้งหมด

อำนาจจำแนกของ ตัวลวง :r w  ความหมาย ผลต่างระหว่างสัดส่วน ของจำนวนคนในกลุ่มต่ำที่ เลือกตัวลวงนั้นกับสัดส่วน ของคนในกลุ่มสูงที่เลือกตัว ลวงนั้น มีค่าอยู่ระหว่าง -1.0 ถึง  สูตร r w = หรือ  เกณฑ์ r w > 0.05 L – H Nh L – H Nl