การสัมมนา KMA Sharing Day โครงการตรวจประเมินการจัดการความรู้สู่ความเป็นเลิศ Knowledge Management Assessment for Performance Excellence : KMA โดยความร่วมมือระหว่าง สำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาระบบราชการและสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
การพัฒนา KMA หน่วยงานนำร่อง (พ.ศ. 2549 – 2553) 1. โรงพยาบาลศิริราช 2. Spanion (Thailand) Co.,Ltd. ระยะขยายผลการนำ KMA ไปใช้ในองค์กรนำร่อง และปรับปรุงแบบประเมิน KMA (ส่วนใหญ่จะเป็นองค์กรที่ได้รับรางวัล TQC มาแล้ว) ขยายผลระยะที่ 1 3. คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 4. โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย 5. บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) 6. บริษัท ซีพี ค้าปลีกและการตลาด จำกัด (กิจการเบเกอรี่) 7. บริษัท สมบูรณ์แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) ขยายผลระยะที่ 2 8. บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) สายงานระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ 9. บริษัท ไทยลู้บเบส จำกัด (มหาชน) 10. โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชตะพานหิน 11. บริษัทเอสซีจี เปเปอร์ จำกัด (มหาชน)
คัดเลือกหน่วยงานนำร่อง จำนวน ๖ หน่วยงาน ได้แก่ สำนักงาน ก.พ.ร. ร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ จัดโครงการ KMA คัดเลือกหน่วยงานนำร่อง จำนวน ๖ หน่วยงาน ได้แก่ ๑. กรมชลประทาน ๒. สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ๓. กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ๔. กรมสุขภาพจิต ๕. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ๖. สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร
(ตราสัญลักษณ์ที่ได้จากการประกวด) การจัดการความรู้ กรมชลประทาน (ตราสัญลักษณ์ที่ได้จากการประกวด)
ภาพบรรยากาศการสัมมนา KMA
ภาพการสัมมนา ผลของการตรวจประเมินการจัดการความรู้มีประโยชน์อย่างไร หน่วยงานที่เข้าร่วมสัมมนา ๑. กรมชลประทาน ๒. สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย๓. กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม๔. กรมสุขภาพจิต
หน่วยงานที่เข้าร่วมสัมมนา ๕. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ๖. สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร ภาพการสัมมนา KMA