วิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (Occupational Health and Safety) รหัสวิชา 407224 3 (2-2-5) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 เวลาสอน วันศุกร์ 09.00-11.00 น.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
Advertisements

1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
Graduate School Khon Kaen University
การประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2011
การนำเสนอผลการฝึกปฏิบัติงาน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แบ่งคณะกรรมการเป็น 2 ทีม ๆ ละ 10 คน ประกอบด้วย ประธาน (รอง ผอ. 2 ท่าน) มอบหมายกรรมการทำการประเมิน ท่านละ 1 ประเด็น (ระบุชื่อผู้รับผิดชอบใน 6 ประเด็น) แยกดูตามแผนก/พื้นที่ที่เกี่ยวข้อง.
บทที่ 8 ระบบบัญชีสินทรัพย์ถาวร
ชี้แจงการประเมินผลการปฏิบัติงาน
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
อนามัยสิ่งแวดล้อม วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
โรงพยาบาลขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน
งานบริหารความเสี่ยง Risk management (RM)
ภาพกิจกรรมการจัดตลาดนัดความรู้ เรื่อง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปบทเรียนบนเส้นทาง การพัฒนาคุณภาพ
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
1 การประเมิน คุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน เขตการศึกษา วันที่
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การดำเนินการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET)
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
โครงสร้างสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
Back Office: หัวใจของระบบทั้งหมดในโรงพยาบาล
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
ข้อเสนอและทางเลือก คลินิกอาชีวเวชกรรมโรงพยาบาลกมลาไสย (กลุ่มครูและบุคลากรทางการศึกษา) ความร่วมมือระหว่าง สำนักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์
แนะนำรายวิชาและ กำหนดข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
รอบที่ 2 ปีงบประมาณ สรุปตามมิติทาง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาองค์กร ร้อยละ 22 ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ร้อยละ 15 คุณภาพการบริการ ร้อยละ 22 ประสิทธิผลตาม.
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข พ.ศ. 2548
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สาขาโรคมะเร็ง.
(ด้านงานอาชีวอนามัย)
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ข้อสั่งการ ของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การเตรียมความพร้อมรองรับ สถานการณ์น้ำท่วม 1. การป้องกันสถานที่ / ตรวจตรา / ซ่อมสร้าง ความเข้มแข็งของแนวป้องกัน.
โครงการลดความแออัดของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี
วัตถุประสงค์ : ๑. เพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสาร ความเคลื่อนไหวภายในคณะศึกษาศาสตร์ แก่ คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ๒. เพื่อเป็นสื่อกลางในการเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างคณาจารย์
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ศูนย์การเรียนรู้ (KM) Knowledge Management. ครั้งที่ 4 วันที่ 22 มีนาคม 2554 เวลา น. – น. ณ. ห้องประชุมปทุมเทวาภิบาล โรงพยาบาลหนองคาย โครงการประชุมวิชาการเพื่อ.
สัดส่วนวิชาชีพต่อสายสนับสนุน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (Occupational Health and Safety) รหัสวิชา 407224 3 (2-2-5) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 เวลาสอน วันศุกร์ 09.00-11.00 น. ห้อง 3101 ผู้สอน อ.กฤษฎารัตน์/อ.อนุพันธ์

กำหนดการเรียนการสอน 9 10 11 12 13 14 สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด ปฐมนิเทศ 10 การดำเนินงานอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล 11 สิ่งคุกคามสุขภาพ อุบัติเหตุ อัคคีภัยและภัยพิบัติในโรงพยาบาล 12 การประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพ การจัดบริการทางสุขภาพแก่บุคลากรในโรงพยาบาล 13 การประเมินทางสิ่งแวดล้อม ค่ามาตรฐานทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ การเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 14 นำเสนอผลการศึกษาดูงาน

กำหนดการเรียนการสอน สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด 15 สอบปลายภาค เนื้อหาสัปดาห์ 9-16 (30 คะแนน)

การเก็บคะแนนช่วงปลาย ลำดับที่ กิจกรรม คะแนน 1. การเข้าเรียน การตรงเวลา ความรับผิดชอบ 5 2. ค้นคว้า ทำรูปเล่ม นำเสนอ 10 3. สอบย่อย 4. สอบปลายภาค 30 รวม 50

การตัดเกรด เกรด ช่วงคะแนน (ร้อยละ) ระดับ A 80-100 ดีเยี่ยม B+ 75-79 ดีมาก B 70-74 ดี C+ 65-69 ปานกลาง C 60-64 พอใช้ D+ 55-59 ควรปรับปรุง D 50-54 ต้องปรับปรุง

ข้อตกลง เข้าเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (ขาดได้ไม่เกิน 1 ครั้ง) ส่งงานตามกำหนด ทำรายงานให้มีคุณภาพ (เนื้อหา รูปแบบ ความทันเวลา)

งาน ส่งและนำเสนอ 1 กุมภาพันธ์ 2556 09.00-11.00 น. ห้อง 3101 แบ่งเป็นกลุ่มศึกษาดูงานโรงพยาบาลอุทุมพรพิสัย วันที่ 25 มกราคม 2556 เวลา 08.00-16.00 น. ใช้แบบประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพและสภาพแวดล้อมในการทำงานในโรงพยาบาล ตามแบบสำรวจความเสี่ยง RAH.01 ภาพประกอบ เนื้อหาช่วง 20-30 หน้า ส่งและนำเสนอ 1 กุมภาพันธ์ 2556 09.00-11.00 น. ห้อง 3101

หัวข้อดูงาน เลขที่ หัวข้อ/รายละเอียด 1-10 ห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉิน 11-20 ตึกธรรมรักษา (ผู้ป่วยในชาย) 21-30 งานเทคนิคการแพทย์ 31-40 งานซักฟอก 41-50 หน่วยจ่ายกลาง 51-60 งานโภชนาการ

กำหนดการศึกษาดูงานโรงพยาบาลอุทุมพรพิสัย วันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๖ เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. ๐๘.๐๐ น. เดินทางถึงโรงพยาบาล ๐๘.๓๐ – ๑๐.๐๐ น. ฟังบรรยายการดำเนินงานอาชีวอนามัย ๑๐.๐๐ – ๑๐.๑๕ น. รับประทานอาหารว่าง ๑๐.๑๕ – ๑๒.๐๐ น. แบ่งกลุ่ม สำรวจความเสี่ยงในการทำงานของบุคลากร โรงพยาบาล ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ – ๑๕.๓๐ น. แบ่งกลุ่ม สำรวจความเสี่ยงในการทำงานของบุคลากร โรงพยาบาล (ต่อ) ๑๕.๓๐ – ๑๕.๔๕ น. รับประทานอาหารว่าง ๑๕.๔๕ – ๑๖.๐๐ น. สรุปผลการศึกษาดูงาน เดินทางกลับ

ข้อมูลทั่วไป เป็นโรงพยาบาลทุติยภูมิระดับ M 2 ห่างจากโรงพยาบาลศรีสะเกษ 25 กิโลเมตร และโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ 96 กิโลเมตร เนื้อที่ 12 ไร่ 3 งาน ส่วนที่พักอาศัย (แฟลตนอก) 9 ไร่ 3 งาน - ประชากร 131,069 คน - รับผิดชอบ 24 ตำบล มี 30 รพ.สต./ศูนย์สุขภาพชุมชน - กลุ่มโรคที่สำคัญ ได้แก่ HT, DM , Diarrhea , COPD/ Asthma, AMI ,Head Injury และ UGIB - ระบบการพัฒนาคุณภาพและการเรียนรู้ของโรงพยาบาลใช้ HA Standard - สิ่งท้าทายของโรงพยาบาล คือการมุ่งเน้นผลลัพธ์และการธำรงรักษา คุณภาพอย่างต่อเนื่อง

นายแพทย์ทนง วีระแสงพงษ์ : ผอก. โครงสร้างการบริหารโรงพยาบาลอุทุมพรพิสัย นายแพทย์ทนง วีระแสงพงษ์ : ผอก. 1. ภารกิจการสนับสนุนบริการ 10 งาน สมศรี ทองอินทร์ กลุ่มงานบริหารทั่วไป 3. ภารกิจการพัฒนา ทีม กกบ.(ทีมนำสูงสุด) ทีม ปสพ.(สภาคุณภาพ) ทีม Facilitator & Internal Surveyors ประธาน : นพ.ทนง วีระแสงพงษ์ (ผอก) เลขานุการ : สุนารี เนาว์สุข (QCC) ศูนย์พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล (11 ทีมนำ/29 หน่วยงาน) 2. ภารกิจการให้บริการ กลุ่มงานบริการทางการแพทย์ นพ.ทนง วีระแสงพงษ์ งานเวชปฏิบัติทั่วไป งานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ทญ.กรรณิการ์ ชาดแดง งานทันตสาธารณสุข งานชันสูตรสาธารณสุข งานรังสีการแพทย์ ภก.ไพฑูรย์ แก้วภมร กลุ่มงานเทคนิคบริการ งานเภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค งานแพทย์แผนไทย ภัทรพล คันศร กลุ่มงานการพยาบาล พรศิริ แซ่เตียว 11 งาน กลุ่มงาน เวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน สุนารี เนาว์สุข 11 งาน

ประสานนโยบายจากทีมนำ โครงสร้างศูนย์พัฒนาคุณภาพ - วางทิศทาง นโยบาย - กำหนดยุทธศาสตร์ (กลยุทธ์) - วิเคราะห์ข้อมูล ทีมนำ : HLT 27 คน Clinic PCT PTC IC IM องค์กรวิชาชีพ (MSO , NSO) HPH *** Non Clinic HRM ENV EQM Unit 30 หน่วยงาน แบ่งโครงสร้างคุณภาพ เป็น 3 ระดับ ได้แก่ 1 ทีมนำสูงสุด , 10 ทีมนำเฉพาะด้าน , 1 ทีมประสานงานคุณภาพ และ 30 หน่วยงาน โดยแยกทีม EQM และแบ่ง PCT ตามความเชี่ยวชาญของทีม ศูนย์พัฒนาคุณภาพ FA และ RM ประสานนโยบายจากทีมนำ

บุคลากรและหน่วยงาน บุคลากรทั้งหมด 275 คน ชาย 58 คน (21.1%) บุคลากรทั้งหมด 275 คน ชาย 58 คน (21.1%) หญิง 217 คน (78.9%) มีทีมนำเชิงระบบ 10 ทีมนำ จำนวนหน่วยงาน 30 หน่วยงาน

หน่วยงาน 1 ผู้ป่วยนอก 2 กายภาพบำบัด 3 เภสัชกรรมชุมชน 4 เอ็กซเรย์ 5 ศูนย์สุขภาพชุมชนกำแพง 6 ห้องคลอด 7 แพทย์แผนไทย 8 สาธารณสุขชุมชน 9 คลินิควัณโรค 10 ชันสูตร 11 อุบัติหตุ-ฉุกเฉิน 12 ตึกชวนชม 13 ตึกกุมาริกา 14 ตึกธรรมรักษา 15 ทันตสาธาณสุข 16 ห้องผ่าตัด 17 ศูนย์ประกัน 18 คลินิกพุทธรักษา 19 ควบคุมโรค 20 หน่วยจ่ายกลาง 21 โรงครัว 22 สุขศึกษาและประชาสัมพันธ์ 23 แผนงานและวิชาการ 24 ซักฟอก 25 บริหารงานทั่วไป 26 ห้องบัตร 27 ยานพาหนะ 28 บ่อบำบัดน้ำเสีย 29 ซ่อมบำรุง 30 งานสนาม