สถาบันวิจัยและพัฒนาสุขภาพภาคใต้ (วพส)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุมชนน้ำด้วน 1 ร่วมใจ สร้างความปลอดภัยทางถนน
Advertisements

บอกบุญวันเด็ก เพื่อทุกดวงใจที่รักการแบ่งปัน วันอาทิตย์ที่ 10 มกราคม พ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาขอมีหรือเลื่อนวิทยฐานะ
ความจำเป็นที่ต้องจัดเก็บข้อมูล ของผู้ที่เป็นบุตรบุญธรรม
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
แผนกเยียวยา คือแผนกที่เกี่ยวกับการช่วยเหลือหรือเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ จากเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน บ้านดินน่าอยู่
งานด้านเด็ก ในปี พ.ศ.๒๕๔๘ รับเด็กใหม่เข้ามา จำนวน ๑๓ คน มีเด็กรวมทั้งสิ้น ๑๔๔ คน แยกเป็นประเภทดังนี้ ประเภท จำนวน/คน เด็กกำพร้า ๓๑ เด็กยากจน ๔๑ ครอบครัวแตกแยก.
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
ตำรวจภูธรจังหวัดระนอง
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
ปฏิญญาหาดใหญ่ (Hatyai Declaration)
การใช้โปรแกรมทุนการศึกษา เพื่อสมัครขอรับทุนการศึกษา
สหกิจศึกษาทางรัฐศาสตร์
รูปแบบการดำเนินกิจกรรมฟื้นฟูหลังน้ำท่วม
คนย้ายถิ่นหนีไฟใต้แล้วกว่า 1ล้านคน
การค้ามนุษย์.
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
เรื่องเดิม   เมื่อวันอังคารที่ 14 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา น. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงติดตามผลการดำเนินงานโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนโรงงานยาสูบ.
รายงานผลการเยี่ยมพื้นที่ กิจกรรม R2 กีฬาสัมพันธ์ต้านยาเสพติด วันที่ 14 เมษายน 2555 ณ บ้านปะตาบาระ หมู่ 1 ตำบลปะเสยะวอ อ.สายบุรี จ.ปัตตานี
การปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
การปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
สรุปการปฎิบัติสหกิจศึกษา
รายงานผลการปฏิบัติงาน
สรุปผลการติดตามกิจกรรมของโครงการ R3 ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส วันที่ 11 กย.2554 ตำบลตันหยงมัส และตำบลโคกเคียน.
สรุปผลการปฏิบัติสหกิจศึกษา สถานประกอบการประเภทหน่วยงานราชการ
ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลบานา อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี
ชื่อตัวบ่งชี้ 2.4 : ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับ ทุนทำวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ จากภายในสถาบันต่ออาจารย์ประจำ ทุกระดับ 1. จุดอ่อน อัตรากำลังของคณะฯ มีจำนวนน้อยและมีภาระงาน.
สำนักงานพัฒนาชุมชน อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี
ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
น.ส.จันทิมา วรวัตรนารา แอนิเมชั่น&มัลติมีเดีย
ร้านซ่อม ประกอบคอมพิวเตอร์ (ในและนอกสถานที่)
ประมวลภาพ โครงการติดตามประเมินผล การปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายในจังหวัด ระยะที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กลุ่มที่ 5 จังหวัดตรัง.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
สุขภาพจิต ในงานสาธารณสุขไทย 2556.
ชุมชนคลองตาแป้น ศูนย์บริการสาธารณสุข 62 ตวงรัชฏ์ ศศะนาวิน ภักดี ฐานปัญญา
พลังชุมชนสู่การฟื้นฟู Community Resilience for Community Recovery
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
โครงการวันเด็กจังหวัดชายแดนใต้
ประเมินพนักงานราชการ ครั้งที่ ๑ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๖
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายอามะ แวดราแม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
โดย ศูนย์พิทักษ์สิทธิผู้บริโภคจังหวัด สงขลา สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ภาคใต้ ม. สงขลานครินทร์
ที่มาของโครงการ ตลอดเวลา 21 ปีที่ผ่านมาทีมงาน " รัก ลูก " ได้ดำเนินงานด้านการให้ความรู้ในเรื่อง ของครอบครัวผ่านสื่อและกิจกรรมในรูปแบบ ต่างๆ แต่ด้วยที่การดำเนินงานส่วนใหญ่ยัง.
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
ส่งเสริมสัญจร.
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
บทบาทท้องถิ่นกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
สำนักงานกศน.จังหวัดพัทลุง
สรุปผลการดำเนินงาน สพอ.เดิมบางนางบวช ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2557
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
ระบบงานตรวจการจ้าง รายการสิ่งก่อสร้างวิทยาเขตปัตตานี
สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอปากท่อ ได้พิจารณาคัดเลือกครัวเรือนยากจน จำนวน 7 ครัวเรือน จากการนำเสนอของ ผู้นำชุมชน และการจัดเวทีประชาคม.
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
ด.ญ. นีนนารา พรมรักษา ม. 1/8 เลขที่ 16 โรงเรียนจักรคำคณาทร ลำพูน
อายุ 44 ปี การศึกษา จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สมรสแล้วมีบุตร 3 คน เริ่มเป็น อสม. เมื่อปี 2547 รวม 9 ปี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศวชต. ศูนย์ประสานงานวิชาการให้ความช่วยเหลือ ผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุความไม่สงบจังหวัดชายแดนใต้ สถาบันวิจัยและพัฒนาสุขภาพภาคใต้ (วพส) อาคาร 51B ชั้น 3 ห้อง 310 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี http://medipe2.psu.ac.th/~dscc/ http://www.deepsouthrelief.org/

เยี่ยมครอบครัวของ นางคอรีเยาะ โวะ (ลงพื้นที่คัดกรอง) ที่อยู่ปัจจุบัน 9/10 ม.3 ต.รูสะมิแล อ.เมือง จ.ปัตตานี เป็นสตรีผู้ยากไร้ที่ได้มีการขอทุนอาชีพเพื่อต่อยอดปลาชิงชัง ปัจจุบันครอบครัวไม่มีภาระที่ต้องรับผิดชอบ เนื่องจากลูกๆแยกย้ายทำมาหากินเป็นของตนเอง หนี้สินที่ต้องผ่อนจำนวน 5,000 กว่าบาท มีบ้านเป็นของตนเอง

คัดกรองสตรีผู้ได้รับผลกระทบและหญิงยากไร้ทั้งหมด 7 คน การคัดกรองสตรีผู้ได้รับผลกระทบ และหญิงยากไร้ ระยะเวลาตั้งแต่ 9-17 กุมภาพันธ์ 2554 คัดกรองสตรีผู้ได้รับผลกระทบและหญิงยากไร้ทั้งหมด 7 คน อำเภอเมือง 3 คน อำเภอปะนาเระ 2 คน อำเภอยะหริ่ง 1 คน อำเภอมายอ 1 คน

ติดตามและประเมินผล ระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 9-17 กุมภาพันธ์ พ.ศ 2554 ลงพื้นที่ติดตามและประเมินผลทั้งหมด 15 คน อำเภอเมือง 10 คน อำเภอปะนาเระ 3 คน อำเภอยะหริ่ง 1 คน อำเภอมายอ 1 คน

เยี่ยมครอบครัวของ นางณรินทร์ สินทรัพย์ (ติดตามและประเมินผล) ที่อยู่ปัจจุบัน 21 หมู่ที่ 5 ต.รูสะมิแล อ.เมือง จ.ปัตตานี เป็นสตรีผู้ยากไร้ที่ได้มีการขอทุนอาชีพขายขนมกะหรี่ปั๊บ เดิมประกอบอาชีพขายลูกชิ้น หน้าปากซอยทางเข้าชุมชนสะบารัง ภาระที่ต้องรับผิดชอบเลี้ยงดูลูกซึ่งอยู่ในวัยเจริญเติบโต ทั้ง 3 คน รายได้ของครอบครัวไม่แน่นอน

เยี่ยมครอบครัวของ นายแวสะมาแอ แวเด็ง (ติดตามและประเมินผล) ที่อยู่ปัจจุบัน 95 ต.สะบารัง อ.เมือง จ.ปัตตานี บุคคลทั่วไปที่ได้ขอทุนอาชีพให้แก่ภรรยาที่ไม่สามารถทำนอกบ้านได้ เดิมประกอบอาชีพรับจ้างทาสีบ้าน และกรีดยาง ขอทุนอาชีพเพื่อทำขนมสอดไส้ วางขายร้านค้าใกล้บ้าน ภาระที่ต้องรับผิดชอบส่งเสียลูกเรียนหนังสือ และค่าใช้จ่ายในบ้าน

สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการลงพื้นที่ ได้รู้ถึงสภาพความเป็นอยู่ของผู้รับทุนว่าทุกคนต่างก็ทำงานเพื่อให้มีรายได้เข้าสู่ครอบครัว มีความพยายามสร้างอาชีพที่มั่งคง ตลอดจนเสริมสร้างความเข้มแข็งของคนในครอบครัวสามารถพึ่งพาตนเองได้ รับรู้ถึงปัญหาและอุปสรรคจากการประกอบอาชีพ รับรู้ว่าบางครอบครัวก็จะมีปัญหา หรือความขัดแย้งทางด้านความคิดกับเพื่อนบ้านระแวกเดียวกัน

แผนงานก้าวต่อไป ลงพื้นที่คัดกรอง ติดตามและประเมินผล จำนวน 25 รายต่อเดือน ประสานงานกับผู้รับทุนที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์อุทกภัยน้ำท่วม เตรียมงานจัดเวทีพบปะชาวอำเภอระแงะที่ได้ยืนประวัติขอรับทุนอาชีพ เพื่อทำการคัดกรอง ประเมินผู้รับทุนรอบ 2 ปี 53 เป็นการประเมินครั้งที่1

จบการนำเสนอ