กลุ่มที่ 4 เกณฑ์ชี้วัดมาตรฐาน กลุ่มเกษตรกร ๕ ข้อ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน้าที่ความรับผิดชอบ
Advertisements

สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
งานกลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มีนาคม 2552.
งานกลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
โครงการตามนโยบายกรมส่งเสริมสหกรณ์
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการเร่งรัฐปฏิบัติการด่วน (เพื่อคนไทย) หรือโครงการปฏิบัติการประชาวิวัฒน์ ยุทธศาสตร์การสร้างระบบเศรษฐกิจที่เท่าเทียมและเป็นธรรม.
หน้าที่ของสมาชิกสหกรณ์
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
เป็นผู้นำการจัดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
ระบบบัญชี.
หลักเกณฑ์การจัดมาตรฐานสหกรณ์
สหกรณ์การเกษตรสามง่าม จำกัด
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2555
กลุ่ม 2 ข้อ 4. ปัญหา สาเหตุ แนวทางป้องกัน แนวทางแก้ไข
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
แผนงาน/โครงการที่สำคัญของกรมส่งเสริมสหกรณ์
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดกระบี่
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
เจ้าภาพหลัก สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน
การมอบหมายภารกิจผู้นำชุมชน หลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
วิสัยทัศน์ “ เป็นองค์กรที่พัฒนาระบบการบริหารจัดการ
การจัดการ งานสารบรรณแนวใหม่
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
การประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2553
เอกสารประกอบ การประชุมผู้บริหารกรมป่าไม้ วันอาทิตย์ที่ 2 พฤศจิกายน พ. ศ.2557 ณ จังหวัดตรัง จัดทำโดย สำนักแผนงานและสารสนเทศ กรม ป่าไม้ กรมป่า ไม้
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
อบรมคณะกรรมการ ตสน. ระดับกลุ่มเครือข่าย
กระบวนการกลุ่ม เครือข่ายการตลาด
โดย อารมณ์ ผิวดำ สพม.38 (สุโขทัย-ตาก)
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการ เรียนรู้ร่วมกันเพื่อพัฒนาสหกรณ์ ในส่วนของสหกรณ์การเกษตร คณะกรรมการ ๑. คุณสายพิณเอี่ยมป๊อก ประธาน ๒. คุณนิภาเลี่ยมสกุลรองประธาน.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
Knowledge Management องค์ความรู้เรื่อง “ การส่งเสริมงานวิสาหกิจชุมชนของสำนักงาน เกษตรอำเภอเมืองราชบุรี ” ความสำคัญ ถอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมงาน.
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนหนองยางไคลพัฒนา อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน
ไม่พบข้อบกพร่องและพบข้อบกพร่อง
ข้อที่ 7 ผลการดำเนินงานในรอบปีบัญชี สุดท้ายสหกรณ์ ต้องไม่กระทำการอัน เป็นการฝ่าฝืนกฏหมาย ระเบียบ คำสั่ง ปัญหา / สาเหตุ การ ป้องกั น แนว ทางแก้ ไข มาตรฐาน.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัด อ่างทอง ผลการปฏิบัติงาน ประจำปี งบประมาณ พ. ศ.2555 ข้อมูล ตุลาคม - ธันวาคม 54 ริเริ่มสร้างสรรค์ มุ่งมั่นฟันฝ่า พัฒนาสหกรณ์ Creative.
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
ขั้นตอนในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการบริหารงาน ประเภทสหกรณ์บริการ คณะทำงาน 1. นางอรุณี เมืองกาญจน์ ตำแหน่ง นักวิชาการสหกรณ์ 2. นางรุจิรา ขำพล ตำแหน่ง นักวิชาการสหกรณ์
กลุ่ม 9 การพัฒนา บุคลากรของ สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร.
การออมความดี กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ ประชุมชี้แจงแนว ทางการดำเนินงาน 1 ติดตามประเมินผล รายงานกรมฯ.
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ 4 เกณฑ์ชี้วัดมาตรฐาน กลุ่มเกษตรกร ๕ ข้อ ข้อ ๑. คณะกรรมการดำเนินการจัดให้มีการจัดทำงบดุลรอบสิบสองเดือน แล้วเสร็จและจัดให้มีผู้สอบบัญชีตรวจสอบได้ภายใน 150 วัน ตามกฎหมาย

สาเหตุที่กลุ่มเกษตรกรไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ข้อ 1 คณะกรรมการขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับบัญชี การเงิน กฎหมาย ระเบียบ และพรบกลุ่มเกษตรกร ไม่ผ่านการฝึกอบรม ไม่มีโอกาสเข้าถึงการเรียนรู้

สาเหตุที่กลุ่มเกษตรกรไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ข้อ 1 (ต่อ) 3. กลุ่มฯ ส่วนใหญ่ไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด อยู่ห่างไกล ติดต่อยาก หาไม่เจอ ไม่มีสำนักงานที่ชัดเจนเป็นของตนเอง 4. การจัดเก็บเอกสารไม่เป็นหมวดหมู่

สาเหตุที่กลุ่มเกษตรกรไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ข้อ 1 (ต่อ) 5. ไม่มีเจ้าหน้าที่บัญชีรับผิดชอบโดยตรง 6. กลุ่มฯ มีปัญหาเรื้อรังมาก่อนการโอนให้ กรมส่งเสริมสหกรณ์รับผิดชอบ

แนวทางปฏิบัติให้ผ่านฯ ข้อ 1 ให้การฝึกอบรม ให้ความรู้เกี่ยวกับ การบัญชี การเงิน การจัดทำงบการเงิน แก่กรรมการกลุ่มฯ/ผู้เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์/เจ้าหน้าที่ของรัฐ ให้การดูแลส่งเสริมอย่างใกล้ชิด

แนวทางปฏิบัติให้ผ่านฯ ข้อ 1 (ต่อ) 3. กลุ่มฯ ควรมีการไปศึกษาดูงานจากกลุ่มฯ ที่มีผลการดำเนินงานดีกว่า ประสบผลสำเร็จในการดำเนินธุรกิจ

ข้อ ๒. ไม่มีข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับรายกาข้อบกพร่อง ทางการเงินและบัญชีอย่างร้ายแรง

สาเหตุที่กลุ่มเกษตรกร ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ข้อ 2 กลุ่มฯ ไม่มีการกำหนดตามระเบียบ 2. กลุ่มฯ ไม่มีการมอบหมายหน้าที่ให้คณะกรรมการอย่างชัดเจนและขาดความรับผิดชอบ

แนวทางปฏิบัติให้ผ่านฯ ข้อ 2 ดูแลให้คณะกรรมการกลุ่มฯ ปฏิบัติตามระเบียบต่างๆ ที่กำหนดขึ้นโดยเคร่งครัด ดูแลให้คณะกรรมการกลุ่มฯ มีการมอบหมายหน้าที่ ความรับผิดชอบ ให้ชัดเจน

ข้อ ๓. มีการทำธุรกิจหรือบริการอย่างน้อย 1 ชนิด

สาเหตุที่กลุ่มเกษตรกร ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ข้อ 3 กลุ่มฯ ขาดความร่วมมือจากสมาชิก/ขาดการมีส่วนร่วม กลุ่มฯ ไม่มีทุนดำเนินงาน

แนวทางปฏิบัติให้ผ่านฯ ข้อ 3 มีการศึกษาอบรมแก่สมิกกลุ่มฯ ให้มีจิตสำนึกในการเป็นเจ้าของกลุ่มฯ และมีส่วนร่วมในการดำเนินงานกับกลุ่มฯ มีการระดมทุนจากสมาชิก โดยการถือหุ้นเพิ่ม/การออม

ข้อ ๔. มีการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปีภายในกำหนดเวลา 150 วัน ตามกฎหมาย

สาเหตุที่กลุ่มเกษตรกร ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ข้อ 4 สมาชิกขาดความศรัทธาในกลุ่มฯ จึงไม่มาร่วมประชุมใหญ่ (ขาดองค์ประชุม) คณะกรรมการกลุ่มฯ มีภาระกิจหลายด้าน สมาชิกอยู่ในฤดูกาลเก็บเกี่ยวผลผลิต

สาเหตุที่กลุ่มเกษตรกร ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ข้อ 4 (ต่อ) 3. สมาชิกอยู่ในฤดูกาลเก็บเกี่ยวผลผลิต/หน่วยงานราชการ เอกชนอื่นๆนัดวันประชุมเดียวกัน

แนวทางปฏิบัติให้ผ่านฯ ข้อ 4 (ต่อ) ให้การศึกษาอบรม บทบาทหน้าที่ของสมาชิกกลุ่มฯ โดยใช้หลักการ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ นัดประชุมใหญ่ตามวัน เวลา ที่เหมาะสม

ข้อ ๕. มีกำไรสุทธิประจำปีและมีการ จัดสรรกำไรสุทธิประจำปีตาม กฎหมาย

สาเหตุที่กลุ่มเกษตรกร ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ข้อ 5 กลุ่มฯ มีผลการดำเนินงานขาดทุน

แนวทางปฏิบัติให้ผ่านฯ ข้อ 5 มีการดำเนินธุรกิจหลายๆด้าน มีการกำหนดแผนการดำเนินงานประจำปี/ปฏิบัติตามแผนที่กำหนดขึ้น มีการเชื่อมโยงธุรกิจกับเครือข่ายสหกรณ์/กลุ่มฯ ในพื้นที่