(เดือนสิงหาคม 2553 – เดือนสิงหาคม 2559) โครงการลดต้นทุนและปรับปรุงประสิทธิภาพการเลี้ยงโคนมด้วยวิธีปฏิบัติได้และเห็นผลจริง ระยะเวลาโครงการ 6 ปี (เดือนสิงหาคม 2553 – เดือนสิงหาคม 2559)
วัตถุประสงค์ เป้าหมาย เพิ่มประสิทธิภาพในระบบการเลี้ยงโคนมและการผลิตน้ำนม เพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม สร้างระบบการเก็บข้อมูลที่เป็นมาตรฐาน และนำไปใช้ได้จริง เพื่อนำนักวิชาการลงไปสู่ปัญหาจริง ซึ่งจะเชื่อมผลงานวิจัย เพื่อนำไปใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในฟาร์ม สหกรณ์โคนมที่ได้รับคัดเลือก 20 สหกรณ์ ใน 4 ภาค รวม 10 จังหวัด เป้าหมาย
ภาคใต้และภาคตะวันตก จำนวน 5 สหกรณ์ สหกรณ์โคนมไทย – เดนมาร์ค ห้วยสัตว์ใหญ่ จำกัด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สหกรณ์โคนมไทย – เดนมาร์ค อ่าวน้อย จำกัด จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ สหกรณ์โคนมท่าม่วง จำกัด จังหวัดกาญจนบุรี สหกรณ์โคนมหนองโพราชบุรี จำกัด (ในพระบรมราชูปถัมภ์) จังหวัดราชบุรี
ภาคกลางและภาคตะวันออก จำนวน 4 สหกรณ์ สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมหินซ้อน จำกัด จังหวัด สระบุรี สหกรณ์โคนมหมวกเหล็ก จำกัด จังหวัด สระบุรี สหกรณ์โคนมในเขตปฏิรูปที่ดินลำพญากลาง จำกัด จังหวัด สระบุรี สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมไทย – เดนมาร์ค (มิตรภาพ) จำกัด จังหวัด สระบุรี
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5 สหกรณ์ สหกรณ์โคนมพิมาย จำกัด จังหวัดนครราชสีมา สหกรณ์โคนมสีคิ้ว จำกัด จังหวัดนครราชสีมา สหกรณ์การเกษตรคุ้มเจริญ จำกัด จังหวัดนครราชสีมา สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมโคกก่อ จำกัด จังหวัดมหาสารคาม สหกรณ์โคนมวาริชภูมิ จำกัด จังหวัดสกลนคร
ภาคเหนือ จำนวน 6 สหกรณ์ สหกรณ์โคนมแม่โจ้ จำกัด จังหวัดเชียงใหม่ สหกรณ์โคนมแม่วาง จำกัด จังหวัดเชียงใหม่ สหกรณ์โคนมการเกษตรไชยปราการ จำกัด จังหวัดเชียงใหม่ สหกรณ์โคนมเชียงใหม่ จำกัด จังหวัดเชียงใหม่ สหกรณ์โคนมบ้านป่าตึงห้วยหม้อ จำกัด จังหวัดเชียงใหม่ สหกรณ์โคนมลำพูน จำกัด จังหวัดเชียงใหม่
งบประมาณดำเนินงาน งบประมาณอุดหนุนจ่ายขาดจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร (กองทุนFTA) วงเงิน 43.764 ล้านบาท
วิธีดำเนินงาน 1.แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารงานโครงการ 2.คัดเลือกสหกรณ์โคนมเข้าร่วมโครงการ 20 สหกรณ์ เงื่อนไขคือ มีแม่โครวมกันไม่น้อยกว่า 500 ตัว และมีศักยภาพในการจ่ายสมทบ 3.สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการดำเนินการจัดจ้างที่ปรึกษาจากสถาบันการศึกษา 4 .กรมส่งเสริมสหกรณ์เบิกจ่ายค่าจ้างที่ปรึกษาให้แก่สหกรณ์ที่เข้า ร่วมโครงการ
กรมส่งเสริมสหกรณ์เบิกจ่ายค่าจ้างที่ปรึกษาให้แก่สหกรณ์ วิธีดำเนินงาน (ต่อ) กรมส่งเสริมสหกรณ์เบิกจ่ายค่าจ้างที่ปรึกษาให้แก่สหกรณ์ ปีที่ 1 กองทุน FTA อุดหนุน 100 % ปีที่ 2 กองทุน FTA อุดหนุน 80 % สหกรณ์สมทบ 20 % ปีที่ 3 กองทุน FTA อุดหนุน 60 % สหกรณ์สมทบ 40 % ปีที่ 4 กองทุน FTA อุดหนุน 40 % สหกรณ์สมทบ 60 % ปีที่ 5 กองทุน FTA อุดหนุน 20 % สหกรณ์สมทบ 80 % ปีที่ 6 สหกรณ์จ่ายเต็ม 100 %
วิธีดำเนินงาน (ต่อ) 5. สหกรณ์จ่ายค่าจ้างที่ปรึกษาเดือนละ 40,000.– บาท ที่ปรึกษาดำเนินการตาม TOR ใน 8 ประเด็นหลักดังนี้ 5.1 ประเมินสถานการณ์ฟาร์ม 5.2 ตรวจเยี่ยมและดูแลสุขภาพสัตว์ 5.3 ถ่ายทอกความรู้สู่เกษตรกรและสหกรณ์ 5.4 ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต
วิธีดำเนินงาน (ต่อ) 5.6 จัดการด้านคุณภาพน้ำนมโค 5.5 ปรับปรุงขนาดฝูงโคนม 5.6 จัดการด้านคุณภาพน้ำนมโค 5.7 สัดส่วนกำไรของฟาร์มเพิ่มขึ้นต่อเนื่องทุกปี 5.8 เกษตรกรสามารถจัดทำบัญชีฟาร์มได้ 6. ติดตามประเมินผลงานที่ปรึกษาตาม TOR ทุกปี โดยสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร