นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
Advertisements

บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ 14 เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
บทที่ 7 ระบบบัญชีเกี่ยวกับการขายและลูกหนี้
โครงการพัฒนาระบบการเงินและบัญชีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทที่ 8 ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินสด
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
การบัญชีวิสาหกิจชุมชน
1. การบริหารจัดการข้อมูลธุรกิจ
Statement of Cash Flows
กินดีอยู่ดีด้วยสถาบันการเงิน
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
การบันทึกรายการปรับปรุง
สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal)
ภาษีธุรกิจเฉพาะ.
การวิเคราะห์รายการค้า และหลักการบันทึกบัญชี
ลงรายการบัญชีทุกวันเป็นประจำทุกเดือน
การปฏิบัติเกี่ยวกับบัญชีเกณฑ์คงค้าง
บทที่ 5 การจัดหาเงินทุนระยะสั้นและระยะปานกลาง Short- Term and Intermediate-Term Financing.
บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
บทที่ 8 ระบบบัญชีสินทรัพย์ถาวร
บทที่ 4 งบการเงิน.
ระบบบัญชีเดี่ยว.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
หน้าที่ของสมาชิกสหกรณ์

ระบบบัญชี.
การตรวจสอบด้านการเงิน
การตรวจสอบธุรกิจสินเชื่อ
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
วงจรรายจ่าย วงจรที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่อไปนี้
การบัญชี 2 เงินสด (ต่อ).
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พัฒนาการอำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร
ความซับซ้อน Complexity Index
สหกรณ์การเกษตรชุมพวง จำกัด
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2518 – 2552
เงินนอกงบประมาณ โดย นางชูใจ บุญสุยา.
การบริหารงานการเงินของสถานศึกษา
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
บัญชีแยกประเภทและผังบัญชี
สมุดบันทึกรายการขั้นต้น
หน่วยที่ 5 ระบบใบสำคัญ ลักษณะของใบสำคัญจ่าย วิธีการของระบบใบสำคัญ
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
บทที่ 6 การปิดบัญชี การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป
การบันทึกรายการในสมุดบัญชีแยกประเภท
การออกแบบโครงสร้างการทำบัญชีโดยการประยุกต์ใช้โปรแกรม EXCEL
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
ระบบการเรียกเก็บหนี้
แนวทางการยกเลิกการจัดทำ บัญชีตามเกณฑ์คงค้างด้วยมือ
ระเบียบว่าด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิก
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
การบันทึกบัญชีและการจัดทำรายงานการเงิน
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
การอบรมเชิงปฏิบัติการ
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
การบริหารเงินทดรองจ่ายหมุนเวียนภายในส่วนงาน
สำนักงานตรวจสอบภายใน วันที่ 21 มกราคม 2558
Accounts payable system
Creative Accounting
บทที่ 3 งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันซื้อหุ้น
FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสหกรณ์ออมทรัพย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี การควบคุมภายใน นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี

เนื้อหา - การทำบัญชีรายรับ – รายจ่าย การอ่านงบทดลอง งบการเงิน - การทำบัญชีรายรับ – รายจ่าย การอ่านงบทดลอง งบการเงิน ความสำคัญของการควบคุมภายใน

การจัดทำบัญชี

คือ ข้อมูลตัวเลข ที่สื่อถึงผลการดำเนินงาน บัญชี คือ ข้อมูลตัวเลข ที่สื่อถึงผลการดำเนินงาน และฐานะการเงินของกิจการ ข้อมูลทางบัญชี จึงเสมือนภาษาสากลของโลกธุรกิจ โดยมี การกำหนดคำศัพท์รูปแบบ และมาตรฐาน การจัดทำที่ยอมรับกันทั่วไป

ความสำคัญของการจัดทำบัญชี 1. ตามกฎหมายกำหนด 2. ทราบผลการดำเนินงาน 3. ทราบฐานะการเงิน 4. ใช้ข้อมูลทางบัญชีในการบริหาร

วัตถุประสงค์ในการจัดทำบัญชี 1. เป็นเครื่องมือควบคุมทรัพย์สินของสหกรณ์ 2. ได้ข้อมูลการทำธุรกิจระหว่างสหกรณ์กับสมาชิก 3. ใช้ข้อมูลทางบัญชี ในการควบคุมงาน ประเมินผลการปฏิบัติงาน และส่งเสริม 4. ได้รายงานทางบัญชีที่ถูกต้อง แสดงฐานะการเงิน และผลการดำเนินงาน 5. ให้มีการตรวจสอบบัญชีประจำปีได้

เอกสารประกอบการจัดทำบัญชี หมายถึง สิ่งที่เป็นหลักฐานข้อเท็จจริงตามลักษณะของ รายการทางการเงินที่เกิดขึ้น เพื่อแสดงว่าได้เกิด รายการเงินขึ้นจริงตามจำนวนที่ปรากฏในเอกสารนั้น

เอกสารและสมุดบัญชี 1. เอกสารทั่วไป 2. เอกสารทางบัญชี 1. เอกสารทั่วไป 2. เอกสารทางบัญชี 3. สมุดบัญชี บัญชีย่อย และทะเบียนต่าง ๆ 4. เอกสารทางกฎหมาย 5. ต้นขั้วใบสำคัญ

การดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ 1. ธุรกิจสินเชื่อ 2. ธุรกิจการจัดหาสินค้ามาจำหน่าย 3. ธุรกิจรวบรวมผลิตผล 4. ธุรกิจการให้บริการ และส่งเสริมการเกษตร

1. สินทรัพย์ 4. รายได้ 2. หนี้สิน 5. ค่าใช้จ่าย 3. ทุน แบ่งเป็น 5 หมวด การจัดหมวดบัญชี แบ่งเป็น 5 หมวด 1. สินทรัพย์ 2. หนี้สิน 3. ทุน 4. รายได้ 5. ค่าใช้จ่าย

ขั้นตอนการจัดทำบัญชี รายการทางการเงิน เอกสารประกอบการลงบัญชี สมุดบันทึกรายการขั้นต้น สมุดบันทึกรายการขึ้นปลาย งบทดลอง งบการเงิน

สมุดบัญชี สมุดบันทึกรายการขั้นต้น สมุดบันทึกรายการขั้นปลาย สมุดบันทึกรายการขั้นต้น สมุดบันทึกรายการขั้นปลาย สมุดเงินสด สมุดแยกประเภททั่วไป สมุดซื้อสินค้า สมุดขายสินค้า บัญชีย่อย สมุดรายได้ค่าบริการ ทะเบียนคุม สมุดรายวันทั่วไป

สมุดเงินสด รายการรับเงินสด รายการจ่ายเงินสด รายการรับเงินสด รายการจ่ายเงินสด ค่าธรรมเนียมแรกเข้า ให้เงินกู้แก่สมาชิก ค่าหุ้น ซื้อสินค้า เงินกู้จากธนาคาร ซื้อครุภัณฑ์ รับชำระหนี้จากลูกหนี้ ชำระหนี้เจ้าหนี้ ขายสินค้าเป็นเงินสด จ่ายค่าใช้จ่ายต่าง ๆ รับเงินฝาก รับค่าบริการเป็นเงินสด ฯลฯ รับได้อื่น ๆ ฯลฯ

ใช้สำหรับบันทึกบัญชีการซื้อสินค้ามาจำหน่าย สมุดซื้อสินค้า ใช้สำหรับบันทึกบัญชีการซื้อสินค้ามาจำหน่าย หรือรวบรวมผลิตผลจากสมาชิก ทั้งที่เป็น เงินสดและเงินเชื่อจากสมาชิกและบุคคลภายนอก

ใช้สำหรับบันทึกบัญชีการขายสินค้า เป็นเงินสด และเงินเชื่อ สมุดขายสินค้า ใช้สำหรับบันทึกบัญชีการขายสินค้า เป็นเงินสด และเงินเชื่อ ในธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย และ ธุรกิจรวบรวมผลิตผล ให้สมาชิกและบุคคลภายนอก

ใช้สำหรับบันทึกธุรกิจการให้บริการแก่สามาชิก สมุดรายได้ค่าบริการ ใช้สำหรับบันทึกธุรกิจการให้บริการแก่สามาชิก เป็นเงินสดและเงินเชื่อ การบริการที่สมาชิกรับ จากสหกรณ์ ได้แก่ ไถนา ไถไร่ สูบน้ำ ขนส่งผลิตผล ฯลฯ

ใช้สำหรับบันทึกรายการบัญชีที่ไม่อาจนำไป สมุดรายวันทั่วไป ใช้สำหรับบันทึกรายการบัญชีที่ไม่อาจนำไป บันทึกในสมุดขั้นต้นเล่มใดหนึ่งได้ ในจำนวน 4 เล่ม การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป เรียกว่า รายการโอนบัญชี

รายการโอนบัญชีใช้ในกรณีต่าง ๆ ได้แก่ รายการโอนบัญชีใช้ในกรณีต่าง ๆ ได้แก่ 1. การโอนหรือปรับปรุงบัญชี 2. การโอนแก้ไขข้อผิดพลาดในการลงบัญชี 3. การปรับปรุงเมื่อสิ้นงวด 4. การโอนปิดบัญชี 5. การเปิดบัญชี

1. เจ้าหนี้เงินฝากออมทรัพย์ 2. เจ้าหนี้เงินฝากประจำ 3. เจ้าหนี้การค้า บัญชีย่อย 1. เจ้าหนี้เงินฝากออมทรัพย์ 2. เจ้าหนี้เงินฝากประจำ 3. เจ้าหนี้การค้า 4. เจ้าหนี้อื่น ๆ 5. ลูกหนี้เงินกู้ระยะสั้นเพื่อผลิตผลหลัก 6. ลูกหนี้เงินกู้ระยะปานกลาง 7. ลูกหนี้การค้า 8. ลูกหนี้ค่าบริการ 9. ลูกหนี้อื่น ๆ

4. สถิติธุรกิจต่าง ๆ ของสมาชิก ทะเบียน 1. สมาชิกและการถือหุ้น 2. ทรัพย์สินถาวร 3. คุมสินค้า 4. สถิติธุรกิจต่าง ๆ ของสมาชิก