จิตวิทยา ในชีวิตประจำวัน
ดร.รังสรรค์ โฉมยา วท.ด (พฤติกรรมศาสตร์)
ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ ห้องทำงาน อาคารเอนกประสงค์ ห้อง 5601
โทรศัพท์ 0-4374-3143 ต่อ 116 0-4374-2823-31 ต่อ 1663 โทรสาร 0-4372-1746
จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน (Psychology in Daily Life) แผนการสอนรายวิชา 199103 จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน (Psychology in Daily Life) 2(2-0)
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาความหมายและขอบข่ายของ จิตวิทยา ความต้องการพื้นฐานของบุคคลในฐานะ ที่เป็นต้นตอแห่งพฤติกรรม
ผลกระทบของสิ่งแวดล้อมที่สามารถ รับรู้ได้ด้วยตา หู จมูก และการสัมผัส ต่อสภาพอารมณ์และประสิทธิภาพ ในการทำงาน ความเครียดและวิธีลดความเครียด
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับการเปลี่ยน แปลงเจตคติ ความเชื่อ และความคิดของ บุคคล การพัฒนาบุคลิกภาพ และการสื่อ ความหมายเพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดี กับผู้อื่น
จุดประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์และพฤติกรรม ของตนเอง
2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ พฤติกรรมของตนเอง เพื่อการพัฒนา บุคลิกภาพและสร้างสัมพันธภาพที่ดี กับผู้อื่น
3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ ความรู้ทางจิตวิทยา เพื่อความสุข ในการดำรงชีวิตและเพิ่มประสิทธิภาพ ในการทำงาน
กำหนดเวลาการสอน สัปดาห์ที่ 1-2 แนะนำขอบข่ายเนื้อหา และกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติ สัปดาห์ที่ 3-4 ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม
สัปดาห์ที่ 5-6 ปัจจัยที่กำหนดพฤติกรรมมนุษย์ สัปดาห์ที่ 7 สุขภาพจิตและองค์ประกอบ ที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพจิต
สัปดาห์ที่ 8 สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 9-10 ธรรมชาติและการปรับตัวของ มนุษย์
สัปดาห์ที่ 11 บุคลิกภาพ สัปดาห์ที่ 12 ความเครียด สัปดาห์ที่13-14 การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
สัปดาห์ที่ 15 ทบทวนก่อนสอบ สัปดาห์ที่ 16 สอบปลายภาค
กิจกรรมการเรียนการสอน 1. บรรยาย อภิปราย แบ่งกลุ่มย่อย 2. ค้นคว้าจากเอกสาร ตำรา งานวิจัย และ Internet 3. การรายงานหน้าชั้นเรียน 4. สอบ
การประเมินผล 1. ความสนใจและความร่วมมือ ในกิจกรรมการเรียน 10% 2. งานที่ได้รับมอบหมายและ รายงานหน้าชั้นเรียน 40% 3. สอบกลางภาค 20 % 4. สอบปลายภาค 30 %