THE MANAGEMENT AND CONTROL OF QUALITY

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับโครงงานอิเล็กทรอนิกส์
Advertisements

บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การจัดการเชิงกลยุทธ์
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
Priciples of Marketing
Lesson 10 Controlling.
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การวางแผนกลยุทธ์.
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
Introduction to Education Criteria for Performance Excellence (ECPE)
รายวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
ระบบการจัดการคุณภาพทั่วทั้งองค์กร
การบริหารคุณภาพองค์กร
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
The General Systems Theory
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ สหกรณ์
กรอบแนวคิด การพัฒนากองบริการการศึกษา.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 15 Start การซ่อมบำรุงระบบ (System Maintenance) Next.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
บทที่ 3 Planning.
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
หลักการ และเทคนิควิธีการกำหนด แผนปฏิบัติราชการสำนักงานยุติธรรมจังหวัด
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
Functional Level Strategy
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
รองศาสตราจารย์ ชัยยศ สันติวงษ์
การบริหารและกระบวนการวางแผน
Business Quality Management
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
ความหมายของการบริการ
การวางแผนยุทธศาสตร์.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
บทบาทของข้อมูลการตลาด
16. กลยุทธิ์ที่มุ่งเน้น ความสำเร็จ. Background การเปลี่ยนทัศนคติ จาก แรงงาน เป็นผลการปฏิบัติงาน แรงจูงใจบนพื้นฐานความเข้าใจ เพื่อบรรลุสู่ความสำเร็จ แบบญี่ป่น.
การจัดการ (Management)
การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC
บทที่1 การบริหารการผลิต
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญพนักงาน คู่ค้า
นวัตกรรมการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
Business Intelligence (BI) ธุรกิจอัจฉริยะ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

THE MANAGEMENT AND CONTROL OF QUALITY Presented by Koranat Kuttanan

THE MANAGEMENT AND CONTROL OF QUALITY SEVENTH EDITION BY JAMES R. EVANS WILLIAM M. LINDSAY

Part 1 THE QUALITY SYSTEM Chapter 1 Introduction Quality แนะนำ แนวคิด ความเป็นมา ความสำคัญ คำนิยาม และองค์ประกอบสำคัญพื้นฐานของคุณภาพ ผลกระทบของ คุณภาพและความได้เปรียบทางการแข่งขันและผลตอบแทน ทางการเงิน

Product-based quality Quality Perspectives in the Value Chain Transcendent quality And Product-based quality User-based quality Needs Customer Marketing Value-based quality Design Products and Services Manufacturing Distribution Manufacturing-based quality Information flow Product flow

Chapter 2 Total Quality in Organizations สำรวจบทบาท แนวทางระบบคุณภาพโดยรวม ในส่วนหลักของภาคเศรษฐศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นการผลิต การบริการ ด้านสุขอนามัย การศึกษาและภาคสาธารณชน

Chapter 3 Philosophies and Frameworks นำเสนอมุมมอง หลักปรัชญาที่เอื้อหนุนต่อระบบ คุณภาพ และนำเสนอกรอบของระบบคุณภาพที่กำหนดโดย คณะกรรมการคุณภาพที่เรียกว่า Malcolm Baldrige National Quality Award and the Criteria for Performance Excellence, ISO 9000 และ Six Sigma (กระบวนการ ลดความผิดพลาด)

Chapter 4 Focusing on Customers Part 2 THE MANAGEMENT SYSTEM Chapter 4 Focusing on Customers มุ่งเน้นไปที่ความเข้าใจในลูกค้าและความต้อง การของพวกเค้า การกระทำให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจ

Chapter 5 Leadership and Strategic Planning บทบาทสำคัญ แนวทางของระบบคุณภาพของ ภาวะผู้นำ และการวางแผนกลยุทธ์

Chapter 6 Human Resource Practices มุ่งไปที่วิธีปฏิบัติของทรัพยากรบุคคล โดยเฉพาะการ ออกแบบของระบบการทำงานแบบ high performance และในการบริหารทรัพยากรบุคคลในสภาพแวดล้อมของ แนวทางระบบคุณภาพ

Chapter 7 Process Management ขอบเขตของกิจกรรมทางด้านการจัดการ การดำเนินการ สำหรับการสร้างคุณค่า และกิจกรรมส่งเสริมทั้งหลาย กล่าวถึงปรัชญาของการปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่องและหน้าที่ ของการจัดการโครงการของ Six Sigma และ การปรับปรุง พัฒนาคุณภาพ

กระบวนการ เพื่อใช้ในการบริหารจัดการ Input Process Output -4M’s -5M’s -7M’s -Objectives -Goals -POLC -POSDC -POSDCORB Feedback

Chapter 8 Performance Measurement and Strategic Information Management เน้นในการใช้ข้อมูลในการวัดผลและจัดการ บทนี้จะ กล่าวถึง Balance scorecard และการบริหารความรู้(KM) Balance scorecard เครื่องมือวัดผลการปฏิบัติงาน KM เป็นเครื่องมือใช้ในการบรรลุเป้าหมาย

Chapter 9 Building and Sustaining Total Quality Organizations กล่าวถึงการสร้างและรักษา สนับสนุนองค์กรคุณภาพ รวมถึงการสร้างวัฒนธรรมองค์การ และส่วนประกอบใหม่ ในการจัดตัวเองและการจัดการความเปลี่ยนแปลง

SIX SIGMA AND THE TECHNICAL SYSTEM Chapter 10 Principles of Six Sigma Part 3 SIX SIGMA AND THE TECHNICAL SYSTEM Chapter 10 Principles of Six Sigma สรุปภาพกว้างขององค์ประกอบสำคัญของ Six Sigma แนวโน้มและหลักการแก้ไขปัญหาของ Six Sigma และการเชื่อมโยง ของ Six Sigma กับ Lean production(การผลิตแบบเร็วและประหยัด)

Six Sigma Process Define Measure Analyze Improve Control

Chapter 11 Statistical Thinking and Applications แนะนำเรื่องของการคิดเชิงสถิติ หน้าที่ของเครื่องมือ สถิติและหลักการสถิติ

Chapter 12 Design for Six Sigma Sigma(DFSS) ซึ่งรวมถึงการสร้างแนวคิด การสร้างการออกแบบ การทำการออกแบบที่ดีที่สุด การตรวจสอบและยืนยันการออกแบบ

แนวคิด DFSS ซึ่งเหมาะกับกระบวนการหรือผลิตภัณฑ์ใหม่หรือการเปลี่ยนแปลงที่จำเป็นต่อกระบวนการที่มีอยู่เดิม วิธีการที่ถูกใช้ใน DFSS เป็นการขยายออกมาจาก DMAIC ที่ใช้สำหรับกระบวนการที่มีอยู่ เป้าหมายของ DFSS คือเพื่อให้บรรลุความต้องการของลูกค้าทั้งภายในและภายนอกตั้งแต่เริ่มต้น สำคัญมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งลักษณะงานที่มีงบประมาณและเวลาที่จำกัด

Chapter 13 Tools for Process Improvement การปรับปรุงและการพัฒนาคุณภาพซึ่งรวมถึง แบบอย่างการพัฒนาการดำเนินการ เครื่องมือพื้นฐานและ แรงจูงใจใหม่ๆในการทำงานของพนักงาน

Chapter 14 Statistical Process Control Statistical Process Control (SPC) แนะนำ ควบคุมการดำเนินการเชิงสถิติ

การควบคุมกระบวนการด้วยสถิติ (Statistical Process Control: SPC)

THANK YOU