การประยุกต์แผนที่ภูมิประเทศระบบดิจิตอล เป็นระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1. วิชาสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม ป.4
โรงเรียนผ่องพลอยอนุสรณ์
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
โปรแกรมเก็บสถิติทั่วไปด้านจัดสรรน้ำ ของโครงการชลประทาน (IRRIPROSTAT)
วัตถุประสงค์ของการปรับแก้เชิงเรขาคณิต
เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
การสร้างสื่อด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ADDIE model หลักการออกแบบของ
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
ประชุมผู้บริหารระบบดับสูงเพื่อเริ่ม โครงการพัฒนาสารสนเทศระบบไฟฟ้า ทางภูมิศาสตร์ ระยะที่ 2 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โดย กลุ่มบริษัทธุรกิจค้าร่วม (Consortium)
เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
การสร้างงานกราฟิก.
ดาวเทียม "ธีออส" (THEOS) ดาวเทียมดวงใหม่บนโลกสำรวจ ของประเทศไทยดวงแรก
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
ส่วนสำรวจกันเขตและประสานงานรังวัด
โครงสร้างปัจจุบัน สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
ผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น RID INNOVATION 2011
Surachai Wachirahatthapong
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
ความรู้พื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
เริ่มต้น Photoshop CS5.
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
เมนูเรื่องเทคโนโลยี.
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
ข้อมูล & สารสนเทศ ข้อมูล ( Data) - ข้อเท็จจริงที่ได้จากการ สังเกตุ หรือสำรวจความเป็นไปของเหตุการณ์ ของโลกเพื่อให้เกิดความเข้าใจในเหตุการณ์ นั้น สารสนเทศ.
บทที่ ๖ การวิเคราะห์ข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS DATA ANALYSIS)
การประยุกต์ใช้ GIS ของกทม.
การสำรวจกันเขต เป็นการสำรวจเพื่อกำหนดตำแหน่งทางราบ เพื่อใช้กำหนดแนวเขตของรายละเอียดงานที่ใช้ประโยชน์ทางด้านการชลประทาน สำหรับใช้ประกอบการจัดซื้อที่ดินของโครงการชลประทาน.
การสำรวจทำแผนที่กันเขตชลประทาน ระบบดิจิตอล โดยใช้กล้อง Total Station
โครงการ จัดทำระบบบริหารจัดการข้อมูลงานรังวัดเพื่อการชลประทานและแผนที่บัญชีรายชื่อเจ้าของที่ดิน (ร.ว. 43 ก.) เหตุผลความจำเป็น การก่อสร้างโครงการชลประทานมีการจ่ายเงินค่าชดเชย.
ระบบบริหารจัดการเอกสารและข้อมูลแผนที่ด้วยระบบสารสนเทศ
ที่ดินเพื่อกิจการชลประทาน
ความก้าวหน้าโครงงานวิศวกรรม
ส่วนสำรวจกันเขตและประสานงานรังวัด
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
Geographic Information System
โครงการบริหารจัดการข้อมูลที่ดินระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ(Gis) โดยใช้เครือข่าย internet สำนักงานที่ดินจังหวัดลำปาง สาขาแจ้ห่ม.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการรังวัดได้อย่างง่ายๆ
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
ข้อมูลและสารสนเทศ.
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในงานศูนย์สนเทศภาคเหนือ
การประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศ กับการบริหารศัตรูพืช
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
อภิชาติ สุวรรณมณี ศูนย์จัดการต้นน้ำที่ 2
ร่างรายงานขั้นสุดท้าย (Draft Final Report)
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ระบบติดตามผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
ระบบ RFID บนทางด่วน RFID systems on the highway
เครื่องมือและเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา.
แบบทดสอบหลังเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 รหัสวิชา ง 31101
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
โครงการประตูระบายน้ำห้วยบังอี่ บ้านนาโพธิ์ ตำบลโพธิ์ไทร
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
Introduction & Objectives 1 Group Idea 2 Programming Design 3 Results and discussion 4 Future plans 5.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประยุกต์แผนที่ภูมิประเทศระบบดิจิตอล เป็นระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดย นาย ชัยศรี ชัชวรัตน์ นาย สุพัฒน์ อัครภูศักดิ์ นาย ประสงค์ เกียรติทรงพาณิช นางสาว จิตสุดา อินทุมาร สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา 2553

การประยุกต์แผนที่ภูมิประเทศระบบดิจิตอล เป็นระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

วัตถุประสงค์ เพื่อแสดงวิธีการผลิตแผนที่ภูมิประเทศระบบดิจิตอล เพื่อแสดงการประยุกต์ใช้งานด้านแผนที่ระบบดิจิตอล เพื่อแสดงการประยุกต์ใช้งานด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อแสดงการประยุกต์ใช้งานด้านพื้นภูมิประเทศสามมิติ

ความเป็นมา ในปัจจุบันเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์และภูมิสารสนเทศ(GI) ได้พัฒนาก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว มีการประมวลผลและจัดทำสารสนเทศให้มีความถูกต้องสูงและรวดเร็วขึ้น จึงจำเป็นต้องมีการประยุกต์ วิธีปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี โดยยังคงดำรงรักษามาตรฐานการปฏิบัติงานไว้ - การทำเป็นแผนที่ระบบดิจิตอล สามารถสร้างชั้นข้อมูล(Layer)และแสดงความต่างด้วยสี(Color) - การทำระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) สามารถแสดงข้อมูลกราฟฟิก(Spatial Data) และข้อมูลอรรถาธิบาย(Attribute Data) สามารถแบ่งข้อมูลออกมาเป็นชั้นๆ สามารถค้นหา (Query) สามารถวิเคราะห์(Analyst) - พื้นภูมิประเทศสามมิติ สามารถวิเคราะห์ความสูง ความชัน ด้วยแถบสี (Thematic Map)ทิศทางการไหลของน้ำได้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างสูงต่อการทำงานด้านชลประทาน และด้านอื่นๆ

สรุปสาระและขั้นตอนการดำเนินการ ภาคสนาม (ตามมาตรฐาน หลักการสำรวจและทำแผนที่ สรธ.) การสำรวจวงรอบและการสำรวจระดับเส้นฐาน การเก็บข้อมูลจุดระดับสูงและ รายละเอียดภูมิประเทศด้วยระบบดิจิตอล ภาคสำนักงาน การประมวลผล การพล็อตจุดระดับสูง การสร้างเส้นชั้นความสูงและการปรับปรุง การพล็อตรายละเอียดภูมิประเทศ การประกอบระวางแผนที่ การจัดทำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ การจัดทำพื้นภูมิประเทศสามมิติ

รายละเอียดของผลงาน ชั้นข้อมูลต่างๆ นามสกุล .dwg ชั้นข้อมูลต่างๆ นามสกุล .shp พื้นภูมิประเทศสามมิติ แบบราสเตอร์ นามสกุล .GRID

ประโยชน์ สามารถบริหารจัดการข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ สามารถค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว สามารถช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล สามารถแสดงผลทางจอภาพได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน สามารถประยุกต์ใช้งานด้านกิจการชลประทานได้เป็นอย่างดี

แผนภูมิการปฏิบัติงาน แผนที่ภูมิประเทศระบบดิจิตอล ขั้นตอนที่ 3 การจัดทำระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ และการประยุกต์ ขั้นตอนที่ 1 การเก็บข้อมูลสนาม - สำรวจวงรอบ และระดับ เส้นฐาน - เก็บรายละเอียดด้วยกล้อง Total Station การประยุกต์ : พื้นภูมิประเทศสามมิติ แผนที่ภูมิประเทศระบบดิจิตอล (Digital map)และการแบ่งชั้นข้อมูล ตกแต่งข้อมูล ประกอบระวาง แบบ T-1 ประมวลผล แปลงรูปแบบข้อมูล ด้วย Program Transit ขั้นตอนที่ 2 การประกอบระวางแผนที่ นำเข้าข้อมูลรายละเอียดภูมิประเทศด้วย โปรแกรม AutoCAD ประมวลผลสร้างเส้นชั้นความสูง โปรแกรม AutoCAD Land development

เครื่องมือและอุปกรณ์ กล้องวัดมุม Total Station พร้อมอุปกรณ์ กล้องวัดระดับ ชั้น 3 พร้อมอุปกรณ์ แผนที่ภาพถ่ายออร์โทสี (แบบกระดาษ และ ระบบดิจิตอล) เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ ขาว-ดำ ขนาด A0 โปรแกรม AutoCAD 2002 โปรแกรม ArcView GIS 3.3 และโปรแกรมเสริม 3D Analyst Network Analyst และ Spatial Analyst

รังวัดด้วยกล้องวัดมุมระบบดิจิตอลที่ทันสมัย แสดงผลการรังวัดในระบบ LCD บนหน้าจอ ทั้งสองหน้า สามารถเรียกดูข้อมูลที่ทำการบันทึกได้ที่ จอแสดงผลของตัวกล้อง ได้โดยตรงหรือจาก คอมพิวเตอร์เมื่อ Download ข้อมูลแล้ว สามารถจำแนกข้อมูลได้จากการรังวัดด้วย Code ที่เราสามารถกำหนดเองได้

ขั้นตอนที่ 1 การเก็บข้อมูลสนาม: สำรวจวงรอบเส้นฐาน Sta.4 (หมุดสำรวจ) Sta.1 (หมุดหลักฐาน 1) Sta.2 (หมุดหลักฐาน 2) Sta.3(หมุดสำรวจ) Angle 2 Angle 1

ขั้นตอนที่ 1 การเก็บข้อมูลสนาม: สำรวจวงรอบเส้นฐาน เกณฑ์งานชั้นที่ 3 Closure ≥ 1 : 5,000

ขั้นตอนที่ 1 การเก็บข้อมูลสนาม (ต่อ):การสำรวจระดับ เส้นฐาน เกณฑ์งานชั้นที่ 3 12mm.√K เกณฑ์งานระดับชั้นที่ 3 = 12mm.√K = 12√ 1.5351 = 0.015 ≥ 0.009 m. (ค่าความผิดพลาดจากการรังวัดจริง น้อยกว่าเกณฑ์ถือว่าใช้ได้)

การสำรวจเก็บรายละเอียดด้วยกล้องวัดมุมระบบดิจิตอล ขั้นตอนที่ 1 การเก็บข้อมูลสนาม (ต่อ): จุดระดับสูง และรายละเอียดภูมิประเทศด้วยกล้อง Total Station - Pt.1 Pt.2 ค่าทางเหนือ(N ) = 1,241,338.200 เมตร. ค่าทางตะวันออก(E) = 551,556.7700 เมตร. ค่าระดับ(เหนือ รทก.) = 170.00 เมตร. Pt.3 การสำรวจเก็บรายละเอียดด้วยกล้องวัดมุมระบบดิจิตอล

ขั้นตอนที่ 1 การเก็บข้อมูลสนาม (ต่อ): การ ประมวลผลด้วยโปรแกรม Transit

ขั้นตอนที่ 1 การเก็บข้อมูลสนาม (ต่อ): การพล๊อตจุดระดับสูงและการสร้าง เส้นชั้นความสูง ก่อนการปรับแก้ ภายหลังการปรับแก้

ขั้นตอนที่ 2 การประกอบระวางแผนที่

ขั้นตอนที่ 2 การประกอบระวางแผนที่: การสร้างชั้นข้อมูลแผนที่ 1. ชั้นข้อมูลที่ 1 จุดระดับสูง 2. ชั้นข้อมูลที่ 2 ถนนคอนกรีต ถนนลาดยาง ถนนลูกรัง 3. ชั้นข้อมูลที่ 3 แม่น้ำสายหลัก แม่น้ำสายรอง และคลองส่งน้ำ 4. ชั้นข้อมูลที่ 4 เส้นชั้นความสูงหลัก เส้นชั้นความสูงรอง 5. ชั้นข้อมูลที่ 5 พื้นที่ปิดล้อมโครงการ 6. ชั้นข้อมูลที่ 6 การใช้ประโยชน์ที่ดิน 7. ชั้นข้อมูลที่ 7 บ้าน โรงเรียน วัด สถานที่ต่างๆ

ขั้นตอนที่ 2 การประกอบระวางแผนที่: การสร้างชั้นข้อมูลแผนที่ เส้นชั้นความสูง การใช้ประโยชน์ที่ดิน ที่อยู่อาศัย โรงเรียน วัด สถานที่ต่างๆ จุดระดับสูง

ขั้นตอนที่ 3 การจัดทำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ชั้นข้อมูลที่ 1 จุดระดับสูง

ขั้นตอนที่ 2 การประกอบระวางแผนที่: การสร้างชั้นข้อมูลแผนที่ ชั้นข้อมูลที่ 2 ถนนคอนกรีต ถนนลาดยาง ถนนลูกรัง

ขั้นตอนที่ 2 การประกอบระวางแผนที่: การสร้างชั้นข้อมูลแผนที่ ชั้นข้อมูลที่ 3 แม่น้ำสายหลัก แม่น้ำสายรอง และคลองส่งน้ำ

ขั้นตอนที่ 2 การประกอบระวางแผนที่: การสร้างชั้นข้อมูลแผนที่ ชั้นข้อมูลที่ 4 เส้นชั้นความสูงหลัก เส้นชั้นความสูงรอง

ขั้นตอนที่ 2 การประกอบระวางแผนที่: การสร้างชั้นข้อมูลแผนที่ ชั้นข้อมูลที่ 5 พื้นที่ปิดล้อมโครงการ

ขั้นตอนที่ 2 การประกอบระวางแผนที่: การสร้างชั้นข้อมูลแผนที่ ชั้นข้อมูลที่ 6 การใช้ประโยชน์ที่ดิน

ขั้นตอนที่ 2 การประกอบระวางแผนที่: การสร้างชั้นข้อมูลแผนที่ ชั้นข้อมูลที่ 7 บ้าน โรงเรียน วั สถานที่ต่างๆ