การเขียนรายงาน ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ จีรภา แดงทน นักวิชาการเงินและบัญชี 24 กุมภาพันธ์ 2555
รายงานการเดินทางเมื่อใด? ภายใน 15 วันหลังจากกลับจากราชการ หลักฐานที่ใช้ประกอบในการรายงาน มีอะไรบ้าง?
เดินทางโดยรถประจำทาง 1.ค่าที่พัก ใช้ใบเสร็จรับเงิน/ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก.111) 2.ค่าเบี้ยเลี้ยง ใช้ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก.111) 3.ค่าพาหนะ ใช้ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก.111)
สิทธิในการเบิก รถโดยสารประจำทาง เบิกค่าพาหนะเดินทางได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินอัตราที่คณะกรรมการขนส่งทางบกกลางกำหนด
เดินทางโดยรถไฟ 1.ค่าที่พัก ใช้ใบเสร็จรับเงิน/ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก.111) 2.ค่าเบี้ยเลี้ยง ใช้ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก.111) 3.ค่าพาหนะ ใช้ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก.111)
สิทธิในการเบิกรถไฟ 1.เบิกค่าพาหนะเดินทางได้เท่าที่จ่ายจริง 2.เดินทางโดยรถด่วน รถด่วนพิเศษชั้น 1 นั่ง นอนปรับอากาศ (บนอ.ป.) ให้เบิกได้เฉพาะผู้ดำรงตำแหน่งระดับ 6 ขึ้นไป
เดินทางโดยเครื่องบิน 1.ค่าที่พัก ใช้ใบเสร็จรับเงิน/ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก.111) 2.ค่าเบี้ยเลี้ยง ใช้ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก.111) 3.ค่าพาหนะ ใช้ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก.111) -กรณีจ่ายเป็นเงินสดให้ใช้ใบเสร็จรับเงินและกากโดยสาร -กรณีมีหนังสือให้บริษัทออกบัตรโดยสารให้ก่อนให้ใช้ใบแจ้งหนี้ เป็นหลักฐานในการเบิกเงิน -กรณีซื้อ E-Ticket ให้ใช้ใบรับเงินที่แสดงรายละเอียดการ เดินทาง (Itinerary Recipt)
สิทธิในการเบิกเครื่องบิน ระดับ 6 ขึ้นไป ชั้นประหยัดหรือต่ำสุด ระดับ 9 ขึ้นไป ชั้นธุรกิจ ระดับ 5 ลงมา เฉพาะจำเป็นรีบด่วนเพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ เบิกได้
เดินทางโดยรถของทางราชการ 1.ค่าที่พัก ใช้ใบเสร็จรับเงิน/ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก.111) 2.ค่าเบี้ยเลี้ยง ใช้ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก.111) 3.ค่าพาหนะ ใช้ใบเสร็จรับเงินค่าน้ำมันเชื้อเพลิง
เดินทางโดยพาหนะส่วนตัว 1.ค่าที่พัก ใช้ใบเสร็จรับเงิน/ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก.111) 2.ค่าเบี้ยเลี้ยง ใช้ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก.111) 3.ค่าพาหนะ ใช้ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก.111)
เงินชดเชยในการใช้พาหนะส่วนตัวในการเดินทางไปราชการ รถยนต์ส่วนบุคคล กิโลเมตรละ 4 บาท รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล กิโลเมตรละ 2 บาท
อัตราเบี้ยเลี้ยงเดินทาง แก้ไขใหม่โดย
ค่าเช่าที่พัก (ใหม่) ท้องที่ที่มีค่าครองชีพสูง และกรณีหัวหน้าคณะซึ่งเป็น c10 คงหลักเกณฑ์เดิม เงื่อนไข หลักจ่ายจริง c8 ลงมาให้พักคู่ เว้นแต่ไม่เหมาะสมหรือมีเหตุจำเป็น กรณีผู้เดินทางไม่เลือกจ่ายจริง ให้เลือกเหมาจ่ายได้ กรณีเดินทางเป็นหมู่คณะ ให้เลือกเบิกค่าเช่าที่พักในล้กษณะเดียวกันทั้งคณะ
การนับเวลาเพื่อคำนวณเบี้ยเลี้ยง -ออกจากที่อยู่หรือที่ทำงานปกติจนกลับถึงที่อยู่หรือที่ทำงานปกติ -กรณีพักแรม 24 ชั่วโมงเป็น 1 วัน เศษเกิน 12 ชั่วโมงนับเป็น 1 วัน -กรณีไม่พักแรมเศษเกิน 12 ชั่วโมงเป็น 1 วัน เศษเกิน 6 ชั่วโมงนับเป็นครึ่งวัน -กรณีเดินทางล่วงหน้าเนื่องจากลากิจ/พักผ่อน ก่อนปฏิบัติราชการให้นับตั้งแต่เริ่มปฏิบัติราชการ (นับจากเริ่มลงทะเบียน) -กรณีไม่เดินทางกลับหลังจากปฏิบัติราชการเสร็จสิ้นเนื่องจากลากิจ/พักผ่อน ให้นับถึงสิ้นสุดเวลาปฏิบัติราชการ (นับจากสิ้นการอบรม)
จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ