หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
องค์ประกอบของสำนักงานสมัยใหม่
Chapter 1 Introduction to Information Technology
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
โรงเรียนผ่องพลอยอนุสรณ์
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
05/06/54 วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องความหมายและองค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล.
Management Information System of Air Conditioner Store
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
องค์ประกอบและประโยชน์ของมัลติมิเดีย
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
ข้อมูลและสารสนเทศ บทที่ 2.
ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล เป็นกระบวนการถ่ายโอนข้อมูล/สารสนเทศจาก แหล่งกำเนิดข่าวสารผ่านสื่อกลาง เพื่อส่งไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ.
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
เทคโนโลยีสารสนเทศ มีเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือหลัก
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
เรื่อง การทำงานของคอมพิวเตอร์ สาระวิชา คอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ ๑
ความรู้พื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
กิจกรรมที่ 2 ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 230
ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
เมนูเรื่องเทคโนโลยี.
งานวิชาการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน
ความหมาย ของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง เครือข่าย คอมพิวเตอร์.  คือการส่งข่าวสารหรือเรื่องราวที่มีความหมายจาก บุคคลฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ผู้ส่ง ไปยังบุคคลอีกฝ่าย หนึ่งที่เรียกว่า ผู้รับ.
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
ข้อมูลและสารสนเทศ.
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2) นก. (Computer Network System) โดย อ.สมบูรณ์ ภู่พงศกร Chapter 1 Introduction.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ เรื่อง การใช้งานบน Internet.
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
บทบาทของ สารสนเทศ จัดทำโดย น. ส อมรรัตน์ เม่งบุตร 002.
บทที่ 2 การจัดการสารสนเทศ.
Information Technology : IT
หน่วย ๑ ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบ เทคโนโลยี สารสนเทศ. เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสื่อสาร โทรคมนาคม ฮาร์ดแ วร์ ซอฟต์ แวร์ บุคลาก ร ข้อมูล ขั้นตอน การ ปฏิบัติงาน.
ICTs จะช่วยอำนวยความสะดวกในการพัฒนาประเทศใน 3 ลักษณะ
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
บทที่ การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยทำให้การบริการสะดวกขึ้น
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
บทบาทของคอมพิวเตอร์.
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
นางมลิวรรณ สมบุญโสด ผู้วิจัย
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วย ให้การบริการสะดวกขึ้น จัดทำโดย ด. ญ. ชุติกาญจน์ ยี่บุญ เลขที่ 1 ม.1/12 ด. ญ. อาทิตยา มั่นหาญ เลขที่ 13 ม. 1/12.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ               Information Technology หรือ IT คือ การประยุกต์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในระบบสารสนเทศ ตั้งแต่กระบวนการจัดเก็บ ประมวลผล และการเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อช่วยให้ได้สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพและรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ โดยเทคโนโลยีสารสนเทศ อาจประกอบด้วย             1. เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใช้สำนักงาน อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคมต่างๆ รวมทั้งซอฟท์แวร์ทั้งแบบสำเร็จรูปและแบบพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในงานเฉพาะด้าน ซึ่งเครื่องมือเหล่านี้จัดเป็นเครื่องมือทันสมัย และใช้เทคโนโลยีระดับสูง (High Technology)             2. กระบวนการในการนำอุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ข้างต้นมาใช้งาน เพื่อรวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์เป็นสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป เช่น การจัดเก็บข้อมูลในลักษณะของฐานข้อมูล เป็นต้น

หลักการและวิธีการของเทคโนโลยีสารสนเทศ การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นวิธีการรวบรวมข้อมูลเข้าสู่ระบบ นักเรียนอาจเห็นว่าในการสอบแข่งขันที่มีผู้สอบจำนวนมาก มีการใช้ดินสอระบายตามช่องที่เลือกตอบ เพื่อให้เครื่องอ่านเก็บรวบรวมข้อมูลได้ เมื่อไปซื้อสินค้าก็มีการใช้รหัสแท่ง (bar code) เพื่ออ่านข้อมูลการซื้อสินค้าที่บรรจุในรหัสแท่ง การใช้รหัสแท่งเพื่อให้ง่ายต่อการเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผล ข้อมูลที่เก็บมาได้มักจะเก็บในสื่อต่าง ๆ เช่น แผ่นบันทึก แผ่นซีดี หรือเทป เป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้จะถูกนำมาประมวลผลตามต้องการ การแสดงผลลัพธ์ อุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์มีมาก สามารถแสดงเป็นตัวหนังสือ รูปภาพ ตลอดจนพิมพ์ออกมาที่กระดาษ การแสดงผลลัพธ์มีทั้งที่แสดงเป็นภาพ เป็นเสียง เป็นวิดิทัศน์ เป็นต้น การทำสำเนา เมื่อมีข้อมูลที่จัดเก็บในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ การทำสำเนาจะทำได้ง่าย และทำได้เป็นจำนวนมาก อุปกรณ์ช่วยในการทำสำเนา จัดได้เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การสื่อสารโทรคมนาคม เป็นวิธีที่จะส่งจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง หรือกระจายออกไปยังปลายทางครั้งละมากๆ ปัจจุบันมีอุปกรณ์ระบบสื่อสารโทรคมนาคมหลายประเภท ตั้งแต่โทรเลข โทรศัพท์ โทรสาร วิทยุ โทรทัศน์ และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีการกระจายทางสาย เช่น โทรศัพท์ เส้นใยนำแสง เคเบิลใต้น้ำ คลื่นวิทยุ ดาวเทียม เป็นต้น

การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งาน ประกอบด้วย 1) การเก็บรักษาข้อมูล การเก็บรักษาข้อมูล หมายถึง การนำข้อมูลมาบันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึกต่าง ๆ เช่น แผ่นบันทึกข้อมูล นอกจากนี้ยังรวมถึงการดูแล และทำสำเนาข้อมูลเพื่อให้ใช้งานต่อไปในอนาคตได้ 2) การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มีจุดประสงค์ที่จะเรียกใช้งานได้ต่อไป การค้นหาข้อมูลจะต้องค้นได้ถูกต้องแม่นยำ รวดเร็ว จึงมีการนำคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนช่วยในการทำงาน ทำให้การเรียกค้นกระทำได้ทันเวลา 3) การทำสำเนาข้อมูล การทำสำเนาเพื่อที่จะนำข้อมูลเก็บรักษาไว้ หรือนำไปแจกจ่ายในภายหลัง จึงควรจัดเก็บข้อมูลให้ง่ายต่อการทำสำเนา หรือนำไปใช้อีกครั้งได้โดยง่าย 4) การสื่อสาร ข้อมูลต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่างไกลได้ง่าย การสื่อสารข้อมูลจึงเป็นเรื่องสำคัญและมีบทบาทที่สำคัญยิ่งที่จะทำให้การส่งข่าวสารไปยังผู้ใช้ทำได้รวดเร็วและทันเวลา

การรักษาความปลอดภัยในการพัฒนาระบบสารสนเทศ ๑.ในการพัฒนาระบบสารสนเทศ จะต้องมีมาตรการที่เหมาะสม ในการรักษาความปลอดภัย ต่องานที่กำลังพัฒนา ๒. เมื่อพัฒนาระบบสารสนเทศแล้ว จะต้องจัดให้มีการทดสอบระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นมาอย่างละเอียดถี่ถ้วน โดยทดสอบในระบบที่แยกต่างหากจากระบบที่มีอยู่เดิมจนกว่าจะเกิด ความมั่นใจในการใช้งาน จึงนำมาใช้งานจริงร่วมกัน หรือทดแทนระบบที่มีอยู่เดิม ๓. บุคคลภายนอกที่เข้ามาพัฒนาระบบสารสนเทศ ให้ปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๑๗ และระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยเคร่งครัด