Ch2 Electronic Marketing

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการ ร้านชุมชน โดย เอกภาพ โครงการ ร้านชุมชน โดย เอกภาพ
Advertisements

ความหมายของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( )
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Chapter 1 การตลาดในศตวรรษที่ 21 อ.ปั้น จูฑศฤงค์.
บทที่ 4 การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจออนไลน์
Product and Price ครั้งที่ 8.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
BA2301 หลักการตลาด การค้าปลีกและการค้าส่ง
Priciples of Marketing
Lesson 2 Strategic Planning and The marketing Process &Market Segmentation,Targeting, and Positioning for Competitive Advantage.
บทที่ 4 การแปรรูป และการผลิตสินค้าอาหาร
หลักการตลาด บทที่ 13 การส่งเสริมการตลาด.
ตรายี่ห้อ บรรจุภัณฑ์ และฉลาก
ระบบการบริหารการตลาด
MK201 Principles of Marketing
Gems and Jewelry Electronic Commerce
ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 2 การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (E-Retailing)
ระบบตะกร้าและระบบชำระเงิน Shopping Cart + Payment
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
การประยุกต์ใช้ไอซีที ในบริบทธุรกิจท่องเที่ยว
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
การบริหารสินค้าของร้านค้าปลีก (Management of retail products)
รูปแบบการตลาดอิเล็กทรอนิกส์
06/11/56 บทที่ 1 ภาพรวมของ E- Commerce.
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
Money Making Models Brokerage ธุรกิจที่หารายได้จากการเป็นตัวกลาง-นายหน้า Advertising ธุรกิจที่หารายได้จากการโฆษณา Merchant ธุรกิจที่หารายได้จากการค้าส่ง-ค้าปลีก.
Chapter4 Logistic & Supply chain Management
บริษัท รวมค้าปลีกเข้มแข็งจำกัด Allied Retail Trade Co.,ltd (ART)
บทที่ 13 การค้าส่งและการค้าปลีก (Wholesaling and Retailing)
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
ภาพรวมการตลาด ความหมายของการตลาด และ ตลาด ระบบตลาด แนวคิดทางการตลาด
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ตอนที่ 2
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
Computer mediated communication
ส่วนที่1 แนวความคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Computer Application in Customer Relationship Management
แยกตามลักษณะผู้ใช้บริการ
e-Office การบริหารสำนักงานสมัยใหม่
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
Functional Level Strategy
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce
บทที่ 13 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
สื่อโฆษณาเพื่อส่งเสริมการขาย
ชื่อโครงการ การขายสินค้าออนไลน์
วิชา หลักการตลาด บทที่ 10 การส่งเสริมการขายโดยใช้บุคคล
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
บทที่ 1 บทนำ.
เว็บเพจ (Web Page).
Chapter 3 การตลาดออนไลน์
การค้าปลีกทางอิเล็กทรอนิกส์ และ การค้าปลีกแบบไม่มีร้านค้า
Chapter 1 แนะนำการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
บทที่ 10 การตลาดทางตรง ความหมายของการตลาดทางตรง Direct marketing is the use of consumer-direct channels to reach and delivery goods and services to customers.
บทที่ 5 การค้าปลีก.
การวัดการวิจัยในการตลาด
บทที่ 4 ส่วนประสมการตลาด
การวิจัยการสื่อสารการตลาด (AMC2202)
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 3 การจัดการตราผลิตภัณฑ์ คุณค่าของตรา และตำแหน่งผลิตภัณฑ์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
ความหมายของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Ch2 Electronic Marketing Aj-Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya

การตลาดอีเล็กทรอนิกส์ (e-Marketing) หลักการตลาดอีเล็กทรอนิกส์ พฤติกรรมผู้บริโภคในตลาดอีเลกทรอนิกส์ การตลาดของพาณิชย์อีเล็กทรอนิกส์ประเภทต่างๆ

หลักการตลาดอีเล็กทรอนิกส์ 6 P Principles of e-Marketing Product and Packaging Price Place Promotion Personalization Privacy

หลักการตลาดอีเล็กทรอนิกส์ Product and Packaging ปัญหาสำคัญของสินค้าออนไลน์ (แบบไทยๆ) ไม่เป็นที่รู้จักในตลาดโลก คนไทยเคยชินกับการรับจ้างผลิต ขาดชื่อเสียงในตรายี่ห้อสินค้า ค่าขนส่งมีราคาสูงมาก สินค้าส่วนใหญ่ไม่ตรงกับความต้องการ ไม่รู้ว่าจะขายอะไร ผู้ซื้อไม่สามารถเห็นและทดลองสินค้าได้ก่อนตัดสินใจ Assignment : วิพากษ์วิจารณ์เว็บสินค้าไทยในมุมมองทางการตลาด

หลักการตลาดอีเล็กทรอนิกส์ Product and Packaging แนวทางของกลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ออนไลน์ วิจัยความต้องการสินค้าในตลาดโลก : เครื่องมือค้นหา , เว็บสำรวจ-วิจัย , เว็บคู่แข่ง,วิธีอื่นๆ สำหรับธุรกิจที่ประกอบการอยู่ก่อนแล้ว สำหรับธุรกิจใหม่ที่ยังไม่ได้เริ่มต้น คัดเลือกสินค้าที่เหมาะสม กับความต้องการในตลาดและเคลื่อนย้ายสินค้าได้ง่าย Soft Goods (Content Provider) ; Games , Software , Music , Graphic , Information , Research , Seminar Online , Knowledge , Courseware , Consulting (ทนาย ดูหมอ คำปรึกษาเรื่องสุขภาพ ฯลฯ) Services ; Tour , Travel , Hotel , Restaurant , Rental , Spa Uniqueness ; ควรเป็นสินค้าที่มีเอกลักษณ์มากๆ มีขายแห่งเดียวในโลกหรือสินค้าที่เกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ณ ที่แห่งนั้นเท่านั้น In trend ; สินค้าหรือบริการที่อยู่ในกระแสความนิยม เช่น สินค้าเพื่อสุขภาพ บริการ เกี่ยวกับสุขภาพ เช่น สปา ชีวจิต สินค้าแฟชั่น สินค้าที่รัฐบาลส่งเสริมการส่งออก

Travel Hotel Food Cloth Car Tour Book Software Airlines Used Goods Car Rental Food Cloth Tour Car Used Goods Games Book Computer Software CD/VDO/DVD Second-hand cars are now eBay’s biggest category! Research Online Buy Offline Feel Quality Retailers are the top performers online ‘X-Mas season!’ Virtual Fun There are plenty of ways to amuse yourself online More Internet than TV! From Hobby To Business Unlimited Opportunities!

หลักการตลาดอีเล็กทรอนิกส์ Product and Packaging การคัดเลือกสินค้าที่เหมาะสม เป็นสินค้าที่เปลี่ยนจาก”โมเลกุล”เป็น”อีเล็กตรอน” (From physical thing to digital thing) มี Option ให้เลือกมากและประกอบเองได้ (Customization) ปรับเปลี่ยน Update ให้ทันสมัยได้ สามารถผลิตเองได้ โดยไม่ต้องจ้าง มีความชอบส่วนตัวเป็นชีวิตจิตใจ

หลักการตลาดอีเล็กทรอนิกส์ Product and Packaging แนวทางของกลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ออนไลน์ (ต่อ) กลยุทธ์อื่นๆ สินค้าที่เลือกไม่ควรมีจำหน่ายในช่องทางปกติ วางตำแหน่งทางการตลาดของธุรกิจให้ชัดเจนและมีความแตกต่างจากเว็บอื่น (Position it , Different or Die) ระบุวัตถุประสงค์การใช้งานผลิตภัณฑ์ให้ชัดเจน สินค้าที่ขายบนเว็บได้มักเป็นการขายปลีก และต้องขนส่งในระยะทางไกล จึงควรพัฒนาบรรจุภัณฑ์ควบคู่กันไปด้วย พิจารณามาตรฐานความปลอดภัยของแต่ละประเทศ http://www.plara.velocall.com

หลักการตลาดอีเล็กทรอนิกส์ Product and Packaging การหีบห่อผลิตภัณฑ์ ความสำคัญของบรรจุภัณฑ์สินค้า บรรจุภัณฑ์นอกจากสร้างความโดดเด่นแก่สินค้าแล้ว ยังช่วยปกป้องสินค้าระหว่างการขนส่งได้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์สินค้า ขอคำปรึกษาเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ได้ที่ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมการส่งออก หรือสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) www.sme.go.th, www.smethai.net ,www.dep.go.th เลือกผู้ให้บริการขนส่ง (Logistic Service Provider) Fedex, DHL, TNT, CTL, EMS, KPN, Davids พิจารณาค่าใช้จ่ายและความปลอดภัยในการให้บริการ

หลักการตลาดอีเล็กทรอนิกส์ Product and Packaging การสร้างตราสินค้า ความสำคัญของตราสินค้า ตราสินค้าสร้างการจดจำและระลึกถึงได้ง่าย ตราสินค้าที่มีชื่อเสียงอยู่แล้วสร้างความเชื่อมั่นได้รวดเร็ว ผู้บริโภคร้อยละ 59 นิยมซื้อสินค้าจากเว็บไซต์ที่คุ้นเคย ดังนั้น จึงควรสร้าง Brand ให้แก่เว็บไซต์เพื่อให้ผู้บริโภคจดจำ ชื่อเว็บไซต์ (URL) = ตราสินค้า ชื่อเว็บเปรียบเสมือนตราสินค้า ควรตั้งชื่อให้สื่อถึงสินค้าหรือบริการที่เสนอ ตั้งชื่อที่ง่ายต่อการสะกดและจดจำ ถ้าเป็นเว็บไทยๆ ใช้ .co.th ,.in.th อย่าใส่สัญลักษณ์แปลกๆ และไม่ต้องเว้นวรรค www.thainic.net เกี่ยวกับหลักการตั้งชื่อ Domain

หลักการตลาดอีเล็กทรอนิกส์ Price online การตัดสินใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการตั้งราคาสินค้าเพื่อการส่งออก สินค้าอาจมีราคาถูกกว่าค่าขนส่ง เมื่อรวมกันแล้วอาจมีราคาแพงกว่าสินค้าในประเทศเป้าหมาย (ถ้าขายสินค้าที่ไม่แตกต่าง) ในระยะยาวต้นทุนสินค้าของไทยอาจมีราคาแพงกว่าประเทศเพื่อนบ้าน เนื่องจากต้นทุนความเจริญของประเทศไทยที่สูงกว่า ควรตัดสินใจในเรื่องราคาสินค้าออนไลน์อย่างไร ราคาไม่ใช่จุดตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคแบบออนไลน์ ควรตั้งราคาให้เหมาะสมกับคุณภาพสินค้า สินค้าขนาดเล็กน้ำหนักเบา ควรขายเป็นชุด ควรคำนวณค่าขนส่งตามระยะทางประเทศเป้าหมายเข้าไปในราคาสินค้า ในบางกรณีอาจต้องแยกราคาสินค้า ค่าขนส่ง และ ภาษีต่างๆ ออกจากกัน และแสดงบนหน้าเว็บเพจให้ลูกค้าเห็นได้ชัดเจน

หลักการตลาดอีเล็กทรอนิกส์ Price online กลยุทธ์การตั้งราคาสินค้าออนไลน์ ไม่ควรตั้งราคาต่ำเกินไปจนลูกค้าไม่มั่นใจ ตั้งราคาสมเหตุสมผลกับคุณค่าสินค้า ถ้าแพงกว่าคู่แข่งควรอธิบายได้ ถ้าเป็นสินค้าเลียนแบบต้องราคาต่ำกว่า ควรมีราคาหลายระดับให้เลือก ควรให้ลูกค้ากำหนดราคาเองได้ (Price Customization) ปรับราคาได้ตามความเหมาะสม พัฒนาสินค้าเพื่อลดต้นทุนสม่ำเสมอ อย่าลดราคาสินค้าจนคุณภาพลดลง เพิ่มความหลากหลายในสินค้าแทนการลดราคา

หลักการตลาดอีเล็กทรอนิกส์ Channel of Distribution (Place) ที่อยู่ของเว็บไซต์หรือทำเลที่ตั้งร้านค้าออนไลน์ ทำเลที่ตั้งร้านค้าแบบ e-Commerce ไม่ได้หมายถึงที่อยู่ของไฟล์เว็บเพจ แต่หมายถึงชื่อร้านค้าหรือชื่อเว็บไซต์ (URL , Domain name) ดังนั้นสิ่งที่แตกต่างจากช่องทางการจำหน่ายแบบการตลาดดั้งเดิม คือ e-Commerce จะต้องให้ความสำคัญของการตั้งชื่อเว็บไซต์ Domain Name เสมือน Brand และที่ตั้งเว็บไซต์ที่ต้องมีเทคนิคที่ดีที่ง่ายต่อการจดจำ หรือ ค้นหา ที่อยู่ของเว็บไซต์ หรือ โฮสต์ (Host or Web Server) คือที่อยู่ของไฟล์ htm และ Database สินค้า ของเว็บนั้น ซึ่งจะอยู่ที่แห่งใดก็ได้ในโลก Web EC Master ส่วนใหญ่จะเลือก Host ที่มีคุณภาพทางเทคนิคดี มีความเร็วต่อการตอบสนอง มี Option แบบ EC ให้เลือก ตลอดจนมีระบบความปลอดภัยที่ดี ในช่วงเริ่มต้นของการสร้างเว็บ e-Commerce ควรเปิดโอกาสลูกค้าได้ ใช้ช่องทางจำหน่ายเดิมในการใช้บริการด้วย จนระยะหนึ่งเห็นว่าเหมาะสมจึง หันมาใช้ ช่องทาง EC อย่างสมบูรณ์แบบ

หลักการตลาดอีเล็กทรอนิกส์ Promotion การส่งเสริมการตลาดและการสื่อสารการตลาด การส่งเสริมการตลาดคือสิ่งจำเป็นสำหรับเว็บไซต์ รูปแบบการส่งเสริมการตลาด การโฆษณา ประชาสัมพันธ์บนสื่ออีเล็กทรอนิกส์ เช่น Banner Advertising , Registration in Search Engine , Promotion by Shopping Mall การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ผ่านเว็บไซต์ที่มีชื่อเสียง การโฆษณา ประชาสัมพันธ์บนสื่อปกติ

หลักการตลาดอีเล็กทรอนิกส์ Online Advertising การโฆษณาออนไลน์เป็นที่นิยมในการสร้างภาพพจน์แก่เว็บไซต์ ค่าใช้จ่ายในการโฆษณาออนไลน์ ขนาดของ Banner และการกำหนดมาตรฐานค่าโฆษณาที่กำหนดขึ้นโดย IAB ( www.iab.net ) ประเภทของเว็บที่โฆษณา ( www.adres.internet.com )

หลักการตลาดอีเล็กทรอนิกส์ Personalization การให้บริการแบบเฉพาะเจาะจง การให้บริการผ่านเว็บไซต์สามารถเก็บข้อมูลของลูกค้าแต่ละคนได้ ให้บริการเฉพาะบุคคล เสมือนเป็นลูกค้าพิเศษ สร้างบริการและเสนอขายสินค้าที่เหมาะสมเป็นรายบุคคล File Cookies and Customer Database Data Mining Cross Selling Call Center Customer Relation Management ; CRM

หลักการตลาดอีเล็กทรอนิกส์ Personalization Competitive advantage in use of e-Commerce Automation of customer data capturing name, address, sex, age, education, salary telephone & mobile number , e-mail number consumer behavior, purchasing volume per period of time ranking of product that customer willing to buy Data processing to planning the marketing strategy Classifying the customer to segment the target group Easy to following the customer Convenience for after sale service Follow up the customer satisfaction FAQ (Frequency of Ask & Question)

หลักการตลาดอีเล็กทรอนิกส์ Privacy : การรักษาความเป็นส่วนตัว ปัญหาด้านการละเมิดความส่วนตัวของผู้ใช้ที่พบบ่อย การนำข้อมูลส่วนตัวของลูกค้าไปเผยแพร่ (กระทำโดยเจตนา) รายชื่อลูกค้า หมายเลขบัตรเครดิตของลูกค้า ที่อยู่ลูกค้า เบอร์โทรศัพท์ อีเมล์ การส่งเอกสาร ข่าวสาร ไปยัง Email ของลูกค้ามุ่งหวังโดยไม่ได้รับอนุญาต (Spam) ละเลยเรื่องความปลอดภัยในข้อมูลลูกค้า ข้อมูลถูกลักลอบขโมยโดยไม่ตั้งใจ การแก้ปัญหาในปัจจุบัน การร่างกฎหมายเกี่ยวกับการรักษาความเป็นส่วนตัว การสร้างระบบรักษาความปลอดภัยข้อมูลในระบบ e-Commerce ระบุนโยบายการรักษาความเป็นส่วนตัว (Privacy Policy) บนเว็บไซต์ การรวมตัวกันสร้างองค์กรกลางไม่แสวงหากำไรเพื่อสร้างความมั่นใจแก่ผู้ใช้ ด้วยการให้สัญลักษณ์ความปลอดภัย เช่น TRUSTe , Verisign ,TrustMark (ของรัฐบาลไทย โดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้า)

Privacy : Truste

เว็บไซต์กรมพัฒนาธุรกิจการค้า http://www.dbd.go.th/ http://www.thairegistration.com

Who is online customer ผู้ที่สามารถเข้าถึงอินเตอร์เนตได้ ได้แก่ ผู้มีฐานะปานกลางถึงดี มีการศึกษา ทำงานในสำนักงาน เอกชน รัฐบาล และเป็นผู้ที่คำนึงถึงการบริโภคสินค้า กลุ่มผู้ใช้อินเตอร์เนตเท่านั้นที่จะกลายเป็นผู้ซื้อสินค้าออนไลน์ ผลสรุปในประเทศไทย ได้แก่ กลุ่มผู้ใช้ส่วนใหญ่มักเป็นผู้ชายและมากกว่าผู้หญิงสองเท่า ส่วนใหญ่เป็นคนโสด วัยศึกษา หรือทำงานตอนต้น ร้อยละ 90 กำลังศึกษาหรือจบการศึกษาระดับ ป.ตรี ร้อยละ 68 อาศัยในกรุงเทพฯ หรือปริมณฑล มีความรู้ทางภาษาอังกฤษดี โดยร้อยละ 66 อ่านภาษาอังกฤษได้ มีผู้ที่เคยซื้อสินค้าออนไลน์ร้อยละ 20 ของกลุ่มผู้ใช้อินเตอร์เนต โดยอ้างเหตุผลว่าไม่สามารถจับต้องสินค้าได้และไม่มีบัตรเครดิต ส่วนใหญ่จะเป็นผู้ชายที่ซื้อทางอินเตอร์เนต

Who is online customer พฤติกรรมกลุ่มผู้ใช้อินเตอร์เนต (ต่อ) ชอบความกระชับ รวดเร็ว เข้าถึงสิ่งที่ตนต้องการได้ง่าย ชอบลองของใหม่ และใช้ของฟรีก่อน (ทดลองใช้ก่อน) ตื่นตัว ใจร้อน รีบเร่ง ชอบศึกษาค้นคว้า ชอบเสี่ยง มั่นใจว่าไม่เสียหายมากมาย เปรียบเทียบข้อมูลก่อนตัดสินใจซื้อ ไม่ชอบความซ้ำซาก จำเจ กลุ่มผู้ใช้อินเตอร์เนตจะเปลี่ยนมาเป็นผู้ซื้อสินค้าเพราะเหตุผลคือ... On demand , Value , Convenience , Price กลุ่มผู้ซื้อสินค้าจะกลับมาซื้ออีกครั้งด้วยเหตุผลคือ... Efficient Consumer Response and Trust

Type of online shoppers Time-starved consumers Shopping avoiders New technologies Time-sensitive materialists (Click & Mortar consumer) Traditionals Hunter-gatherers 20% Brand Loyalists Singles shoppers 16% Source: E.Turban, Electronic Commerce2002,Newjersey ; Pearsons,2002,p.89.

Online consumer behavior ผลวิจัยในอเมริกาพบว่า ร้อยละ 81 ที่ซื้อทางอินเตอร์เนตเพราะความสะดวก และมีเพียงร้อยละ 33 เท่านั้นที่ซื้อเพราะราคาประหยัด ผู้บริโภคร้อยละ 59 นิยมซื้อสินค้าจากเว็บไซต์ที่เคยซื้อเพราะมั่นใจในการบริการ การบริการที่รวดเร็ว และสั้น ผู้บริโภคจะให้ความสำคัญต่อตรายี่ห้อมาก ผู้บริโภคยินดีจ่ายเงินแก่เว็บไซต์ที่มีความน่าเชื่อถือสูงกว่าเว็บไซต์ที่ไม่ค่อยรู้จักแม้ว่าราคาสินค้าจะถูกกว่าก็ตาม ผู้บริโภคบนเว็บไซต์นิยมซื้อสินค้าจากเว็บไซต์ที่ตนเคย ใช้บริการจากช่องทางปกติมาก่อน

Business Model in e-Commerce Brokerage ธุรกิจที่หารายได้จากการเป็นตัวกลาง-นายหน้า Advertising ธุรกิจที่หารายได้จากการโฆษณา Infomediary ธุรกิจที่หารายได้จากการเป็นตัวกลางศูนย์กลางข้อมูล Merchant ธุรกิจที่หารายได้จากการค้าส่ง-ค้าปลีก สินค้า/บริการ Manufacturer (Direct) ผู้ผลิตที่ใช้ internet ลดทอนคนกลาง Affiliate ธุรกิจที่หารายได้จากการเป็นพันธมิตรช่วยขาย Community สังคมเฉพาะกลุ่มของผู้ที่มีความสนใจ-ต้องการเหมือนกัน Subscription ธุรกิจที่หารายได้จากค่าสมาชิก Infrastructure ธุรกิจที่หารายได้จากบริการโครงสร้างพื้นฐาน Rappa, M. 2001. DigitalEnterprise.org/models เรียบเรียงโดยคุณใจรัตน์ จตุรภัทรพร นักวิชาการอิสระ

ตัวอย่าง e-Commerce ประเภท Brokerage Website ที่มีรายได้จากค่าบริการในการทำหน้าที่เป็นตัวกลางหรือนายหน้าทางธุรกิจ อาทิ ผู้หาตลาด หาผู้ซื้อ หาผู้ขาย จับคู่ผู้ซื้อ-ผู้ขาย อำนวยให้ผู้ซื้อพบสินค้าหรือบริการที่ต้องการ เป็นต้น e-MarketPlace: Foodmarketexchange.com Buy/Sell Fulfillment: CarsDirect.com Demand Collection System: Priceline.com Auction Broker: e-Bay.com Transaction Broker: PayPal.com Distributor: Questlink.com Search Agent: DealTime.com Virtual Mall: ChoiceMall.com

ตัวอย่างของ e-Commerce แบบ e-Marketplace ศูนย์รวม/ศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนข้อมูล สินค้า บริการ และทำธุรกรรม online ระหว่างผู้ผลิตสินค้าและชุมชนในอุตสาหกรรมหรือธุรกิจเดียวกัน เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า B2B e-Marketplace ที่ประสบความสำเร็จจะต้องสามารถรวมกลุ่มผู้ขายและผู้ซื้อเข้าไว้ด้วยกันจำนวนมาก สร้างช่องทางใหม่ๆ ให้ผู้ขาย (multiple suppliers) ขณะเดียวกันสร้างกระบวนการสั่งซื้อให้ผู้ซื้อ (multiple buyers) ตัวอย่างได้แก่ Foodmarketexchange.com / Thailand.com

ตัวอย่างของ e-Commerce แบบ Buy/Sell Fulfillment website ที่รับความต้องการของผู้ซื้อและผู้ขาย เมื่อพบว่ามีสินค้าหรือเงื่อนไขราคา ฯลฯ ของผู้ซื้อและผู้ขายใดเหมาะสมตรงกัน ก็จะทำการจับคู่ผู้ซื้อและผู้ขายให้เกิดการซื้อขายกัน และได้รับค่าบริการ transaction fee ตัวอย่างได้แก่ CarsDirect.com และ Respond.com

ตัวอย่างของ e-Commerce แบบ Demand Collection System “เอ่ยราคาที่คุณต้องการ” (name-your-price) กล่าวคือผู้ซื้อที่สนใจทำการแจ้งราคา (งบประมาณ) ที่สามารถซื้อสินค้าหรือบริการ อาทิ จองตั๋วเครื่องบิน จองโรงแรม ทัวร์ท่องเที่ยว ร้านอาหาร ซื้อบ้าน ฯลฯ และ website จะทำการจัดหาสิ่งที่ผู้ซื้อต้องการมาให้ในงบประมาณที่ผู้ซื้อแจ้งไว้ และคิดค่าบริการเป็นรายได้ ตัวอย่างได้แก่ Priceline.com

ตัวอย่างของ e-Commerce แบบ Auction Broker Website จัดทำระบบและกลไกให้ผู้ขายเสนอสินค้าและผู้ซื้อ (ทั้งบุคคลทั่วไปและผู้ค้า) แข่งขันราคากันจนผู้ขายพอใจและปิดการขาย นายหน้าจะได้ค่าคอมมิสชั่นจากผู้ขายและผู้ซื้อซึ่งมีกฎเกณฑ์และข้อเสนอที่หลากหลาย ตัวอย่างได้แก่ e-Bay.com

ตัวอย่างของ e-Commerce แบบ Transaction Broker website ในลักษณะตัวกลางบุคคลที่สาม รับผิดชอบเรื่องการชำระเงินให้แก่ผู้ขายและผู้ซื้อจาก website อื่นให้เข้ามาใช้บริการที่ website ของตนเองในฐานะตัวกลางภายนอกโดยสร้างกลไกการชำระเงินไว้พร้อมให้บริการแก่ผู้ขายและผู้ซื้อ ตัวอย่างได้แก่ www.paypal.com และ Escrow.com

ตัวอย่างของ e-Commerce แบบ Distributor website ในลักษณะจัดการ catalog ให้เชื่อมต่อกับทั้งสองฝั่ง ได้แก่ฝั่งบรรดาผู้ผลิตสินค้านั้นๆ และฝั่งบรรดาผู้ซื้อทั้งแบบผู้ซื้อรายใหญ่และผู้ซื้อรายย่อย โดย website จะอำนวยความสะดวกในเปรียบเทียบราคาและคุณสมบัติสินค้าและบริการ อีกทั้งอำนวยการแลกเปลี่ยนธุรกิจของทั้งผู้จัดจำหน่ายที่ได้รับสิทธิและคู่ค้าพันธมิตร ตัวอย่างได้แก่ www.questlink.com

ตัวอย่างของ e-Commerce แบบ Search Agent เป็นตัวแทน (อาทิ software agent หรือ ‘robot’) ทำหน้าที่ค้นหาสินค้า บริการ ราคาที่ผู้ขายกำหนดไว้นำมาบริการแก่ผู้ต้องการซื้อ รวมถึงช่วยค้นหาข้อมูลที่ยากต่อการสืบค้นด้วย ตัวอย่างได้แก่ www.dealtime.com

ตัวอย่างของ e-Commerce แบบ Virtual Mall เป็นแบบ hosts online merchants ทำหน้าที่แบบรวบยอดสมบูรณ์ตั้งแต่สร้างรูปแบบร้านค้ามาตรฐาน รับเก็บข้อมูล จัดสรรบริการชำระเงิน จัดส่งสินค้า และสร้างโอกาสและสายสัมพันธ์ทางการตลาดให้กับร้านค้าสมาชิกใน Mall โดย website แบบนี้จะมีรายได้จากค่าดำเนินการครั้งแรก ค่าบริการรายเดือน และรายได้ต่อธุรกรรมการซื้อต่อครั้ง ตัวอย่างได้แก่ www.ChoiceMall.com www.ShoppingThai.com , www.veloshopping.com , www.quickwww.com

ตัวอย่าง e-Commerce ประเภท Advertising Website ที่ทำหน้าที่กระจายข้อมูลข่าวสาร โฆษณาประชาสัมพันธ์ และอาจมีบริการเสริมอื่นๆ เช่น free email, chat, forums, text link, banner, bubble ads เป็นต้น เพื่อดึงดูดให้มีผู้เข้ามาเยี่ยมชม website มาก สร้าง traffic ให้สูงเพื่อขายพื้นที่ในการโฆษณาให้ได้ Portal: yahoo.com Personalized portal: MyYahoo! Niche portal: iVillage.com Classifieds: Match.com Registered users: NYTimes.com Query-based paid placement: Google.com ปัจจัยในความสำเร็จของธุรกิจในกลุ่มนี้ได้แก่การสร้างจุดเด่นที่แตกต่างจากธุรกิจในแนวเดียวกัน ในขณะที่สามารถควบคุมต้นทุนได้ ตัวอย่างของธุรกิจที่หารายได้จากค่าโฆษณาที่ยังคงสามารถทำกำไรได้ คือ Yahoo! ซึ่งเป็นเว็บท่า (Portal Site) ที่มีชื่อเสียงมานานและมี ต้นทุนในการสร้างเนื้อหาน้อย เนื่องจากใช้วิธีการเชื่อมโยงไปยังเนื้อหาของผู้อื่น นอกจากนี้ยังมีอีกตัวอย่างหนึ่งที่น่าสนใจ คือ GreaterGood ซึ่งเป็นตัวอย่างของธุรกิจที่หารายได้จากการแนะนำลูกค้าให้แก่เว็บไซต์อื่นๆ ซึ่งคล้ายกับการหารายได้จากค่าโฆษณา

ตัวอย่างของ e-Commerce แบบ Portal เป็นจุดเริ่มต้นของการเข้าสู่ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยทั่วไปหมายถึง Search Engines ที่รวมเนื้อหาสาระข้อมูลและบริการที่หลากหลายเข้าไว้ด้วยกัน ยิ่งมีผู้เข้ามาใช้บริการมาก ก็จะยิ่งมีรายได้จากการรับฝาก banner ads โฆษณาประชาสัมพันธ์ มากขึ้นไปเท่านั้น ตัวอย่าง ได้แก่ Yahoo.com

ตัวอย่างของ e-Commerce แบบ Personalized Portal เป็น website ที่นำเสนอข้อมูลและขอบเขตที่เฉพาะเจาะจงยิ่งขึ้น ซึ่งจะช่วยสร้างความภักดีจากผู้ใช้บริการที่มีเวลาน้อยและต้องการเข้าถึงข้อมูลที่กลั่นกรองแล้ว ตรงประเด็นโดยรวดเร็ว ตัวอย่างได้แก่ MyYahoo!

ตัวอย่างของ e-Commerce แบบ Niche Portal จัดทำขึ้นเพื่อบริการลูกค้าเฉพาะกลุ่มเชิงประชากรศาสตร์ ตัวอย่างเช่น site ที่มีข้อมูลเนื้อหาสำหรับผู้ที่ต้องการซื้อสินค้าเกี่ยวกับบ้าน หรือ site สำหรับผู้หญิงวัยรุ่น หรือพ่อแม่ยุคใหม่ ซึ่ง web แบบ Niche Portal จะมีรายได้จากผู้ที่ต้องการโฆษณาแบบเข้าถึงลูกค้ากลุ่มเป้าหมายอย่างแท้จริง ตัวอย่างได้แก่ www.iVillage.com

ตัวอย่างของ e-Commerce แบบ Classified เป็น website ที่จัดแสดงรายการสินค้าที่ต้องการขายหรือเป็นที่ต้องการซื้อ มีรายได้มาจากค่าแสดงรายการ หรืออาจเรียกเก็บค่าสมาชิกได้อีกด้วย ตัวอย่างได้แก่ www.Monster.com , Match.com

ตัวอย่างของ e-Commerce แบบ Registered User เป็น website ที่บริการข้อมูลข่าวสารเป็นพื้นฐาน มักจะเปิดให้เรียกดูข้อมูลฟรี แต่บังคับลงทะเบียนเพื่อเก็บรายชื่อ และมี software ตรวจจับพฤติกรรมในการดูข้อมูล นำมาวิเคราะห์เพื่อสร้างรูปแบบการโฆษณาประชาสัมพันธ์ที่ตรงกับพฤติกรรมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เช่น www.NYTimes.com

ตัวอย่างของ e-Commerce แบบ Query-Based Paid Placement เป็น website ที่สร้างรายได้จากการสนับสนุน หรือ ขาย link หรือโฆษณาเมื่อมีผู้ชมทำการค้นหาข้อมูล website จะโฆษณา banner หรือ text link ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับ keyword ที่ผู้ชมทำการค้นหานั้น ตัวอย่างได้แก่ Google.com, www.Overture.com

ตัวอย่าง e-Commerce ประเภท Merchant Website ของผู้ค้าปลีก-ค้าส่ง ที่ทำการขายสินค้าหรือบริการ ราคาอาจมีตั้งแต่ขายจากราคาที่กำหนด จนถึงไม่กำหนดราคา เช่น การประมูล Virtual Merchant (e-Tailer): www.amazon.com Click and Mortar: www.bn.com(Barnes & Noble Catalog Merchant: www.Landsend.com Bit Vendor: www.jimmysoftware.com ปัจจัยในความสำเร็จของโมเดลทางธุรกิจค้าปลีก-ค้าส่งในอินเตอร์เน็ตมักจะขึ้นอยู่กับความ สามารถในการจัดการส่งสินค้าและให้บริการหลังการขายให้แก่ลูกค้า เราจึงพบว่าธุรกิจค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งไม่มีร้านค้าทางกายภาพมีแนวโน้มที่จะต้องสร้างร้านค้าหรือคลังสินค้าขึ้นด้วยจนกลายเป็นธุรกิจที่เรียกว่า Click-and-Mortar หรืออาจใช้วิธีการสร้างพันธมิตรทางธุรกิจกับร้านค้าปลีกแบบเดิม

ตัวอย่างของ e-Commerce แบบ Virtual Merchant เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "e-tailer" เป็น website ของผู้ค้าที่มี website เป็นช่องทางจำหน่ายเดียวของธุรกิจ อาศัยอินเตอร์เน็ตในการทำธุรกิจ ตัวอย่างได้แก่ Amazon.com

ตัวอย่างของ e-Commerce แบบ Click & Mortar เป็นธุรกิจขององค์กรที่มีที่ตั้งทำการอยู่ในรูปแบบการค้าปกติ (brick-and-mortar) มีช่องทางจำหน่ายอื่นๆ อยู่แล้วและทำการก่อตั้ง website เป็นเสมือนร้านสาขาหรือช่องทางจำหน่ายใหม่ในอินเตอร์เน็ต ตัวอย่างได้แก่ www.Barnesandnoble.com

ตัวอย่างของ e-Commerce แบบ Catalog Merchant เป็นธุรกิจประเภทจัดทำ catalog ไว้ใน website และให้สั่งซื้อเข้ามาด้วยวิธีการดั้งเดิม อาทิ โทรศัพท์ โทรสาร จดหมายหรือ e-mail รวมถึง web ordering ตัวอย่างได้แก่ www.landsend.com

ตัวอย่างของ e-Commerce แบบ Bit Vendor หมายถึงผู้ค้าที่ให้บริการเฉพาะสินค้าหรือบริการที่เป็นดิจิตอลจับต้องไม่ได้เท่านั้น โดยการบริการ การซื้อขาย และขนส่งทุกอย่างจัดทำอยู่ในระบบอินเตอร์เน็ตทั้งหมด อาทิ บริษัทผลิตและจัดจำหน่ายซอฟท์แวร์ที่จัดส่งสินค้าด้วยการ download เป็นต้น เช่น www.jimmysoftware.com

ตัวอย่าง e-Commerce ประเภท Manufacturer โดยอาศัยพลังของอินเตอร์เน็ตช่วยให้ผู้ผลิตเข้าถึงผู้ซื้อหรือผู้ใช้โดยตรงโดยข้ามคนกลางทางการค้าไป (ตัดตอนตัวกลาง) นอกจากช่วยให้เกิดการซื้อขายได้อย่างกระชับ ยังช่วยเรื่องการให้บริการลูกค้า การรับรู้ความต้องการของลูกค้าโดยตรง เพื่อนำกลับไปพัฒนาสินค้า-บริการให้ดียิ่งขึ้นต่อไป Direct B2B Direct B2C

ตัวอย่าง e-Commerce ประเภท B2B B2B e-commerce is associated with systems and processes that support the flow of information between organizations as it occurs in procurement; manufacturing; research and development; and sales; and distribution of goods, information and services. ใช้ IT ในขั้นตอนการเตรียมการผลิต-รับคำสั่งซื้อ ด้วยโปรแกรมการสร้างภาพ, โปรแกรมสร้างแบบจำลอง 3 มิติ, กล้องดิจิตอล, e-mail และ internet เพื่อการออกแบบสินค้า นำเสนอลูกค้า และปรับเปลี่ยนสินค้าต้นแบบ online พร้อมกับลูกค้าจนนำไปสู่การตกลงรับคำสั่งซื้อ จึงค่อยส่งต่อให้กระบวนการผลิต ซึ่งช่วยประหยัดต้นทุนหลายทาง ทั้งเวลา แรงงาน เงินทุนในการทำสินค้าต้นแบบ การขนส่ง

ตัวอย่าง e-Commerce ประเภท B2C กระบวนการ Supply Chain แบบเดิม ผู้นำเข้า ตัวแทนจำหน่าย ร้านค้าปลีก กระบวนการ Supply Chain แบบใหม่ ผู้ผลิต ผู้ซื้อ website

ตัวอย่าง e-Commerce ประเภท Infomediary (information intermediary) Website ที่มีลักษณะเป็นตัวกลางข้อมูลข่าวสารจากผู้ผลิตถึงผู้บริโภค รวบรวมเพื่อนำเสนอข้อมูลทุกอย่างที่เป็นประโยชน์แก่ผู้บริโภคเพื่อประกอบการตัดสินใจซื้อ และเป็นตัวกลางระหว่างผู้บริโภคถึงผู้ผลิต ได้แก่ การรวบรวมศึกษาพฤติกรรมการท่องอินเตอร์เน็ตของผู้บริโภคเพื่อนำมาวิเคราะห์การออกแบบกิจกรรมทางการตลาดในอินเตอร์เน็ตให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น แยกในแต่ละธุรกิจ สินค้า บริการ ฯลฯ www.DoubleClick.com / www.Nielsen.com / www.Greenpoints.com www.Edmunds.com / www.marketresearch.com / www.tfrc.co.th

ตัวอย่าง e-Commerce ประเภท Affiliate Website ที่ช่วยสร้างโอกาสในการซื้อขายใน page หรือ web ซึ่งบุคคลมีการเยี่ยมชมและได้รับค่าตอบแทนการช่วยขาย มักเป็นรูปแบบจากสัดส่วน % จากยอดซื้อ

ตัวอย่าง e-Commerce ประเภท Community Website ที่มีลักษณะเป็นสังคมเฉพาะกลุ่มที่ผู้ใช้ซึ่งมีความต้องการในข้อมูลเหมือนกันหรือมีความชื่นชอบเดียวกันมารวมกลุ่มแลกเปลี่ยน อาทิ site สำหรับสินค้ามือสอง หรือสำหรับนักพัฒนาโปรแกรม สถานีข่าว หรือเครือข่ายความรู้เพื่อการศึกษา เป็นต้น www.redhat.com www.CNN.com www.experts.com www.thai2hand.com www.weekendhobby.com

ตัวอย่าง e-Commerce ประเภท Subscription Website ที่มีรายได้เรียกเก็บจากสมาชิกตามช่วงเวลา รายวัน สัปดาห์ เดือน ปี หรือในกรณีตอบรับบริการใดๆ อาทิสมาชิกอินเตอร์เน็ต หนังสือพิมพ์ หนังสือ ดนตรี วิดีโอ www.AOL.com www.listen.com www.jobsDB.com ปัจจัยในความสำเร็จของธุรกิจที่จะสามารถหารายได้จากค่าสมาชิกได้ก็คือ การมีสารสนเทศหรือบริการที่มีคุณภาพที่ดีพอที่จะทำให้ลูกค้ายอมจ่ายค่าสมาชิกดังกล่าว เช่น ต้องมีสารสนเทศที่แตกต่างจากผู้ประกอบการรายอื่น (Wall Street Journal หรือ Business Online) หรือใช้กลยุทธ์ทางการตลาดในการรักษาฐานลูกค้าไว้ เช่น AOL รักษาฐานลูกค้าของตนด้วยหมายเลขอีเมล์หรือหมายเลข ICQ ซึ่งลูกค้าที่ใช้บริการไปแล้วระยะหนึ่งไม่ต้องการเปลี่ยนแปลง ธุรกิจที่มีรายได้จากสมาชิกยังสามารถใช้ฐานลูกค้าของตนที่มีอยู่ขยายต่อไปยังธุรกิจต่อเนื่องอื่นๆ เช่น AOL ใช้ฐานสมาชิกของตนในการหารายได้จากการโฆษณาออนไลน์และธุรกิจค้าปลีก

ตัวอย่าง e-Commerce ประเภท Infrastructure Website ที่ให้บริการแก่ธุรกิจ e-Commerce อื่น เช่นศูนย์ข้อมูล บริการชำระเงิน online องค์กรออกใบรับรอง digital รับรองการประกอบการธุรกิจที่ได้มาตรฐาน หรือบริการจัดส่งพัสดุ www.paypal.com บริการระบบโอนและชำระเงินผ่านอีเมล์ระหว่างผู้บริโภคกับผู้บริโภค (C-to-C Payment) หรือระหว่างบุคคลกับบุคคล (P-to-P Payment) www.verisign.com www.truste.com www.dhl.com ปัจจัยในความสำเร็จของธุรกิจในกลุ่มนี้จะขึ้นอยู่กับการขยายตัวของตลาด E-Commerce โดยรวม กล่าวคือ หากเศรษฐกิจอยู่ในช่วงขยายตัว และมีผู้ประกอบการ E-Commerce มาก รายได้ของธุรกิจเหล่านี้ก็จะเพิ่มขึ้น ดังนั้น หากเรามองว่าธุรกิจ E-Commerce มีแนวโน้มที่จะขยายตัวอย่างต่อเนื่องในระยะยาว ธุรกิจโครงสร้างพื้นฐานที่สามารถสร้างความแตกต่างจากคู่แข่งได้ ก็จะมีแนวโน้มที่จะเติบโตและน่าจะทำกำไรได้ในระยะยาว