เสวนากลุ่มย่อย กลุ่มที่ 4

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัตถุประสงค์ พัฒนาองค์ความรู้การดำเนินงาน คบส.ให้กับ อสม. และเครือข่ายในชุมชน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายชุมชนที่ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน.
Advertisements

สาระสำคัญของการสัมมนา
ข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ ประเด็น คำถามและคำตอบ 1. จากสถานการณ์งบประมาณที่มีแนวโน้มว่าการ จัดสรรงบประมาณอาจลดลง มวล. ควรเร่งหารายได้เพิ่ม และมียุทธศาสตร์ใน.
การประชุมวิชาการระดับชาติ “มหาวิทยาลัยบูรพา 2554”
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
การนำเสนอรายงานความก้าวหน้าการปฏิบัติสหกิจศึกษา นำเสนอโดย นางสาวจิตร์ลัดดา พุ่มคำ นางสาวสุนิสา สรรพศรี กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
เล่าเรื่อง:โครงการเก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
Intel® Teach Program Essentials Course v.10.1
ระบบสืบค้นข่าว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
การนำเสนอรายงานความก้าวหน้าการปฏิบัติสหกิจศึกษา นำเสนอโดย นางสาวจิตร์ลัดดา พุ่มคำ นางสาวสุนิสา สรรพศรี กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
ระบบจัดการครุภัณฑ์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (Student Center)
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
โครงการโทรทัศน์ครู สร้างครูมืออาชีพ ด้วยมืออาชีพ
มหาวิทยาลัย ต้องการชุด โครงการแบบไหน. น่าจะเริ่มต้นถามว่า ต้องการผลงานแบบไหน จากชุดโครงการวิจัย.
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
Seminar in Information Technology II
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
โครงการสำรวจภาพลักษณ์ของนิด้า กับคนในชุมชน
การบรรยาย หัวข้อ “KM : เครื่องมือพัฒนาทีมงาน และองค์การ”
ประวัติ Gotoknow โกทูโนว์ (GotoKnow.org) เป็นเว็บไซต์ให้บริการบล็อก สำหรับแลกเปลี่ยนเรียนรู้บนอินเทอร์เน็ต พัฒนาโดย ดร.จันทวรรณ ปิยะวัฒน์ และ ผศ. ดร.ธวัชชัย.
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
ระบบสืบค้นข่าว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
สรุปการดำเนินงาน คณะอนุกรรมการพัฒนา นักศึกษานอกชั้นเรียน คณะอนุกรรมการประสานกิจ เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษา เขตภาคกลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติ ไทย.
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
แนวทางการเสริมพลังใจ บุคลากรสาธารณสุข
การเป็นคณาจารย์นิเทศ มืออาชีพ
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การประชุมเตรียมการเข้า ร่วมแข่งขัน งานศิลปหัตถกรรม นักเรียนครั้งที่ 62 ที่จังหวัดชัยภูมิ 30 ตุลาคม 2555.
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
Road Map KM 2551.
นำเสนอผลงาน กลุ่มที่ 5 ศพพ. (ศูนย์พักพิง)
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
โครงการส่งเสริมการผลิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
โดย “กลุ่มที่ ๒... ฉลองชัย ”
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
วิชา น. 101 กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา
บทสรุป แนวทางการส่งเสริมการวิจัย ของอุดมศึกษาไทย
ผู้วิจัย นางเพียรทอง อุ่นบุญธรรม
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาการบริหารจัดการขยะและเทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน.
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิบูลย์ วัฒนาธร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยนเรศวร “KM : การ ประยุกต์ใช้ ในมหาวิทยาลัย นเรศวร ” ในการสัมมนาในหัวข้อ.
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ สถานศึกษา ที่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน.
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
1 เรื่อง กระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ วัตถุประส งค์ 1. เพื่อร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ใน การจัดเวทีเรียนรู้ของแต่ละกอง / สำนัก 2. รับทราบปัญหา อุปสรรคในการ.
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การจัดทำเว็บไซต์ เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษา เขตภาคกลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติ ไทย วันพฤหัสบดีที่ 24 กุมภาพันธ์ 2554 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ปัญหาการวิจัย วิชา MIS เป็นวิชาที่เน้นทฤษฎีแต่ถูกจัดให้เรียนในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ซึ่งนักศึกษาส่วนหนึ่งขาดความสนใจ เล่นเฟสบุ๊ค (Face book) ในขณะที่ครูสอนและทุกครั้งที่มีโอกาส.
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
รายงานการวิจัย การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจที่พัก
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เสวนากลุ่มย่อย กลุ่มที่ 4 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

“จากจิตนาการสู่มืออาชีพ”

ผู้แทนราชมงคลในการเสวนา ที่ ชื่อ-สกุล สังกัด หมายเหตุ 1 ผศ.อาภรณ์ บางเจริญพรพงค์ UTK ผู้นำการเสวนา 2 ผศ.ปราโมทย์ อนันต์วพราพงษ์ ผู้บันทึกการเสวนา 3 ผศ.รุ่งฤดี อภิวัฒนศร มทร. ธัญบุรี 4 ผศ.ดร.สมใจ บุญหมื่นไวย มทร. อีสาน 5 ผศ.ทรงสิริ วิชิรานนท์ มทร. พระนคร 6 อ.ยุภาวรรณ ดวงอินตา มทร. รัตนโกสินทร์ 7 ผศ.ดร.ปภัศร์ชกรณ์ อารีย์กุล มทร. ศรีวิชัย 8 ผศ.ศศิธร ปรือทอง มทร. ล้านนา 9 ผศ.สายหยุด อุไรสกุล มทร. สุวรรณภูมิ 10 ผศ.ดร.นิตยา สำเร็จผล

วิธีการดำเนินการเสวนา ช่วงที่ 1 ให้ผู้แทนแต่ละ มทร. เล่าถึงบริบทของการทำงานวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน คนละ 6 นาที ช่วงที่ 2 สรุปบริบท/รูปแบบ และแนวทางการดำเนินการ การต่อไป

ช่วงที่ 1 ให้ผู้แทนแต่ละ มทร. เล่าถึงบริบทของการทำงานวิจัย ผลการเสวนา ช่วงที่ 1 ให้ผู้แทนแต่ละ มทร. เล่าถึงบริบทของการทำงานวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน คนละ 6 นาที เน้นการวิจัยในชั้นเรียน มีการวิจัยในการสร้างเครื่องมือบ้าง มีการบูรณาการระหว่างสาขา นักวิจัยส่วนใหญ่ขาดองค์ความรู้ในการทำงานวิจัย มีการใช้ระบบพี่เลี้ยงนักวิจัย

วิธีการดำเนินการเสวนา ช่วงที่ 2 สรุปบริบท/รูปแบบ และแนวทางการดำเนินการ การต่อไป จันทรบุรีโปรโตคอล นิยามของ การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ที่ใช้ในการเสวนา ปี 2554 หมายถึง การวิจัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการเรียน การสอน ทำให้ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนดีขึ้น และพัฒนาศักยภาพ ของผู้สอน

การดำเนินการต่อไป เพื่อความต่อเนื่อง 1. นำผลการเสวนาไปเสนอ สวพ./หน่วย KM ของแต่ละ มทร. เป็นทางการ/ไม่เป็นทางการ เพื่อจัดทำแผนงานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2. สร้างกลุ่มย่อย KM ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน สภากาแฟ คนที่สนใจงานวิจัยด้านนี้โดยมี สวพ./หน่วย KM ช่วยอำนวยความสะดวก (คุณเอื้อ) 3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ/ภาค/สาขา (เว็บมหาวิทยาลัย) สวพ./หน่วย KM ช่วยอำนวยความสะดวก (คุณเอื้อ)

การดำเนินการต่อไป เพื่อความต่อเนื่อง (ต่อ) 4. นำผลไปใส่เว็บบล็อกของคณะกรรมการกลาง (จัดทำโดย มทร.สุวรรณภูมิ) 2 ครั้ง ภายในเดือนกรกฏาคม และเดือน พฤศจิกายน 2554 สวพ./หน่วย KM ช่วยอำนวยความสะดวก (คุณเอื้อ)/ มีกระบวนการตรวจสอบ สร้างกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้บนเว็บบล็อก ในแต่ละประเด็นที่สมาชิกกลุ่มตั้งขึ้นมา 5. นำกลับมาเสวนาในปีงบประมาณ 2555 โปสเตอร์ 1 แผ่น ขนาด 90 x 120 ซม./ Power Point

ข้อเสนอแนะคณะกรรมการการจัดการความรู้ 9 มทร. 1. กลุ่ม KM หรือ สวพ. ต้องส่งตัวแทนเข้าร่วมการเสวนาในปีหน้า 2. การสัมมนาในปี 2555 ให้เน้นการเสวนามากกว่า 3 ชั่วโมง เพื่อจะได้นำผู้เชี่ยวชาญมาวิพากษ์/ให้คำปรึกษา ในวงเสวนาย่อย (ลดการบรรยายโดยวิทยากร) 3. หัวข้อการบรรยายโดยวิทยากรควรจะเกี่ยวข้องกับหัวข้อเสวนาใน KM