ในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
Advertisements

สรุปผล การดำเนินงาน องค์กรแพทย์ ปี 2549.
Service Plan สาขา NCD.
Risk Management JVKK.
การหาความเที่ยงของการจำแนกประเภท ผู้ป่วยด้วยระบบ IRR Testing
Patient Safety Walk Rounds :
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
ทบทวนให้ถึงแก่น น.พ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ขุมทรัพย์จากใบ TRIGGER TOOL
Trigger marker + Medical record safety review ในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี
เรื่อง “การใช้เครื่องมือ Trigger” (medical record safety review)
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing)
Risk management รศ.นพ.จรัล กังสนารักษ์.
ภก. ปรมินทร์ วีระอนันตวัฒน์
การบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
Service Profile บริการ/ทีม: โรงพยาบาล วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด
คู่มือการใช้งานระบบ ทำการตรวจสอบระบบของเจ้าหน้าที่แต่ละคนที่รับผิดชอบ
โดย นายแพทย์สุชัย อนันตวณิชกิจ
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
งานบริหารความเสี่ยง Risk management (RM)
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
แผนยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.๒๕๕๕ - ๒๕๕๘
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
สรุปการประชุม เขต 10.
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
Service Profile บริการ/ทีม: โรงพยาบาล วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
การประเมินตนเองตามมาตรฐานตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
การจัดการระบบยา เพื่อ ความปลอดภัย บันไดขั้น 2 สู่ ขั้น 3.
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
มุมมอง ผู้เยี่ยมสำรวจ fulltime
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 05. ข้อมูลบริการผู้ป่วยใน
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
การวางแผนยุทธศาสตร์.
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
Quality Improvement Track
1. การ ดำเนินงานตามกฎระเบียบ การประกันสังคม 2. ความสามารถ ในการดำเนินการ เรียกเก็บเงินได้ตามกำหนด 3. ความรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนใน การให้บริการ 4. การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
1 Quality Improvement Tract สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน )
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
Service Profile บริการ/ทีม: ……………………………. โรงพยาบาลนครปฐม
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
6. การทำงานเป็นทีมระหว่างสาขา วิชาชีพ 1. การคัดกรองจำแนกประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่อาจถูกคัดกรอง ผิดพลาด 2. การระบุตัวผู้ป่วยในกรณีต้อง เคลื่อนย้ายผู้ป่วย.
PCT ทีมนำทางคลินิก.
โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
Risk Management in New HA Standards
เส้นทางการพัฒนาคุณภาพ HA
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี วัฒนธรรมความปลอดภัย ในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี เริ่มจากจุดใด ? ทำได้อย่างไร ? "อยากแบ่งปันประสบการณ์ของพวกเราบ้างค่ะ" เพราะเป็นการเรียนรู้ของทีม RM

รายงานต่ำในกรณีมีความเสี่ยงสูง ปี 49 รายงาน (dead/ 15%) รายงานเชิงพรรณนาโวหาร สรุป AE,Harm ไม่ได้ RM อดีต ติดขัดกรณีเกิดความเสี่ยงจากผู้เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะ MSO เช่น Unplan ICU, unexplain dead หน่วยงานไม่สามารถจัด risk profile และ แก้ปัญหา ความเสี่ยงเป็นระบบได้ การค้นหาความเสี่ยงของเดิมคือ 1) occurrence report 2) voice 3) risk round – มาตรฐานการรักษา -สิ่งแวดล้อม -สิทธิผู้ป่วย การค้นหาความเสี่ยงทางคลินิกไม่ครอบคลุม Clinical risk (ทบทวนใน CLT เฉพาะตัวชี้วัดที่มีปัญหา) * ที่สำคัญคือ ความรู้สึก ไม่อยากรายงาน เพราะ ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการทำงานประจำวันเลย *

การเปลี่ยนแปลงของ RM พวกเรา เริ่มจาก Step 1  Risk round quality สอนความเสี่ยง ในหน่วยงาน  MSO/NSO นำปัญหาความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมแก้ไข ทำให้ทุกคนรู้สึกว่า RM เป็นเรื่องสำคัญ, ใกล้ตัว, ร่วมกันรับผิดชอบ  คู่มือคู่ใจ ให้ทราบว่า การพัฒนาคุณภาพ & RM เป็นเรื่องเดียวกัน  คู่มือ 12 กิจกรรม หัวหน้าพาทบทวน เพื่อค้นหาความเสี่ยง  Website RM, Board RM/ หน่วยงาน

Step 2 ปรับระบบรายงาน ใบ Occurrence  ปรับใบ occurrence ใหม่  เน้นการค้นหาในใบรายงาน 1) หา root cause 2) หา adverse event/Harm 3) กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ  รายงานทางระบบ LAN  เก็บเป็น Risk profile ของหน่วยงาน ปรับระบบรายงาน ใบ Occurrence  ปรับใบ occurrence ใหม่  เกิดการร่วมด้วยช่วยกันของ RM กับหน่วยงาน & ระบบงานสำคัญ เช่น MSO การเลื่อนงดผ่าตัด, NSO การเตรียมความพร้อมในกระบวนการผ่าตัด & RRT ระดับ รพ. โดย CEO กรณีความเสี่ยงที่ไม่สมเหตุผลระดับ Harm  G  RM เข้าไปมีบทบาท กรณีหน่วยงานแก้ไขความเสี่ยงไม่ได้ หรือแก้ไขไม่เหมาะสม, เกิดซ้ำในระดับ  E หรือเกิดความรุนแรง  ปานกลาง เพิ่มใบความคลาดเคลื่อนสารน้ำ & ยา และ non clinic

Step 3 การค้นหาความเสี่ยงทางคลินิก อย่างกว้างขวาง Leader ship walk round RM round/ safety culture Trigger marker / CLT เพื่อป้องกันความเสี่ยง (Marker จาก failure mode ของกระบวนการทำงาน + specific clinical risk) การค้นหาความเสี่ยงทางคลินิก อย่างกว้างขวาง  Risk quality and safety round ป้องกัน การค้นหา  Datch Board Monitoring โรค & หัตถการเสี่ยงสูง ของแต่ละ CLT เพื่อค้นหา Adverse event  Medical record safety review เพื่อค้นหา Adverse event/Harm & นำ AE ไปพัฒนาคุณภาพ

3C  3P RRT/ระดับ รพ. Step 4 หน่วยงานเรียนรู้การใช้ เกิดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ เพื่อสร้างระบบป้องกัน ความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร 5 อันดับ risk profile ระดับ รพ. CEO C3 THER ในการดูแลผู้ป่วย เป้าประสงค์องค์กร - การบริการที่ปลอดภัย ระบบ งานสำคัญ เรียนรู้ CLT เรียนรู้การใช้ ตัวอย่าง MSO, NSO -> adverse event HRD -> competency IM -> การเชื่อมโยงข้อมูล IC -> sepsis LAB -> High Alert Lab PTC -> Med error ข้อมูลความเสี่ยง & ร่วมพัฒนาร่วมกัน 12 กิจกรรมทบทวน เครื่องมือคุณภาพ Trigger marker/RRT Medical record safety review