งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Risk Management in New HA Standards

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Risk Management in New HA Standards"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Risk Management in New HA Standards
....นำเสนอโดย.... กภ.อริยาภรณ์ สกุลดาว

2 ประเด็นเรียนรู้  Risk Management Principle Risk Management Framework
Risk Management Process Risk Profile Risk Register RCA.

3 ความเสี่ยงกับอุบัติการณ์ สัมพันธ์กันอย่างไร??
ความเสี่ยง คือโอกาสที่จะเกิดอันตราย แต่....ยังไม่เกิด อุบัติการณ์ คือเหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่ก่อให้เกิด หรือได้ทำให้เกิดอันตราย (ซึ่งไม่ควรจะเกิดขึ้น) อุบัติการณ์ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว ความเสี่ยงเป็นสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น อุบัติการณ์ ในอดีต อาจเป็นความเสี่ยงในปัจจุบันและอนาคต อุบัติการณ์ ในอดีต อาจไม่เป็นความเสี่ยงอีกต่อไป หากมีการปรับปรุงแก้ไขอย่างรัดกุม

4 หลักการของการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Principle)
•RM สร้างและปกป้องคุณค่า (values) •RM เป็นส่วนหนึ่งของทุกกระบวนการขององค์กร (all processes) •RM เป็นส่วนหนึ่งของการตัดสินใจ (decision making) •RM แสดงออกถึงความไม่แน่นอนให้ชัดเจน (uncertainty) •RM เป็นเรื่องของความเป็นระบบ มีโครงสร้างชัด ทันเวลา (systematic) •RM อยู่บนพื้นฐานของสารสนเทศที่ดีที่สุดที่มีอยู่ (best information) •RM ปรับให้สอดคล้องกับบริบทและ risk profile (context) •RM นำปัจจัยด้านมนุษย์และวัฒนธรรมมาพิจารณา (human and cultural) •RM มีความโปร่งใสและและไม่กีดกัน (transparent & inclusive) •RM มีความเป็นพลวัต หมุนช้า และตอบสนองการเปลี่ยนแปลง (dynamic) •RM ช่วยให้มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องในองค์กร (improvement)

5 Risk Management Framework
Safety culture

6 กระบวนการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Process)

7 มีอะไรใหม่ ในมาตรฐานระบบบริหารความเสี่ยง
กรอบแนวคิดของระบบบริหารความเสี่ยงที่ชัดเจนขึ้น องค์ประกอบหลักของระบบบริหารความเสี่ยงที่ชัดเจนขึ้น โครงหลัก การจัดการภายในองค์กร ความเสี่ยงสำคัญ การหมุน PDSA ของระบบบริหารความเสี่ยง องค์ประกอบสนับสนุนระบบบริหารความเสี่ยง เครื่องมือใหม่ คือ ทะเบียนจัดการความเสี่ยง (risk register)

8

9 กระบวนการบริหารความเสี่ยง Risk Management Process

10 กระบวนการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Process)

11 Risk Profile : บัญชีความเสี่ยง
เป็นเอกสารอธิบายชุดของความเสี่ยง แสดงให้เห็นว่าหน่วยงาน /ทีม / องค์กรมีความเสี่ยงสำคัญอะไรบ้าง อาจนำเสนอในรูป risk matrix หรือ risk rating table หน่วยงาน / ทีม / องค์กรมีแนวทางในการแก้ไข หรือกำหนด มาตรการอย่างไร และแนวโน้มความเสี่ยงที่เกิดขึ้นเป็นอย่างไร เป็นการแสดงถึงสถานะปัจจุบันที่เกิดขึ้นในหน่วยงาน / ทีม / องค์กร

12 สิ่งที่ Risk Profile ควรบอกกับเรา
ประเด็นความเสี่ยงที่เกิดขึ้น หรือเผชิญอยู่นั้น อะไรที่หนักสุด รุนแรงสุด และมีการเรียงลำดับความสำคัญ ประเด็นความเสี่ยงที่เกิดขึ้นนั้น สามารถนำไปเกี่ยวข้องหรือประกอบการตัดสินใจในเรื่องอะไร เห็นภาพหรือประเด็นความเสี่ยงทั้งหลายที่เกิดขึ้นนั้นเป็นภาพเดียวกัน

13 ขั้นตอนการจัดทำ Risk Profile
การค้นหาและรายงานความเสี่ยง การประเมินระดับความเสี่ยง (Risk Level) การจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้นคืออะไร (มาตรการป้องกัน CQI , WI , QA , SOP , CPG) การประเมินผลระบบ : ความครอบคลุม มาตรการการป้องกันดีพอแล้วหรือไม่

14 (1.) การระบุความเสี่ยง : Identify Risk

15 การระบุความเสี่ยง : Identify Risk
ความเสี่ยงด้านทั่วไป (Non Clinical Risk) ควรครอบคลุมประเภทต่อไปนี้ ด้านการเงิน ด้านบริการ ด้านเวชระเบียน ด้านสิทธิผู้ป่วยและจริยธรรมองค์กร ด้านเทคโนโลยีและสานสนเทศ ด้านเครื่องมือและอุปกรณ์ ด้านสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

16 (2.) การวิเคราะห์ความเสี่ยง : Risk Analysis
แนวทางปฏิบัติ •วิเคราะห์โอกาสที่ความเสี่ยงจะกลายเป็นอุบัติการณ์ •วิเคราะห์ผลกระทบหรือความรุนแรงของอุบัติการณ์หากเกิดขึ้น •ให้คะแนน 1-5 คูณคะแนนทั้งสองเข้าด้วยกันเป็น Risk Level •พิจารณาลำดับความสำคัญของ Risk ทั้งหมด

17 คำนิยาม “ความรุนแรง (Consequence/Severity)” ในทางคลินิก
1. Negligible : มีอันตราย/บาดเจ็บเพียงเล็กน้อย ไม่ต้องการการปฐมพยาบาล หรือสิ่งที่เกิดขึ้นไม่เกี่ยวกับการรักษาพยาบาล 2. Minor : มีอันตราย/บาดเจ็บเล็กน้อย สามารถแก้ไขได้โดยง่าย อาจทำให้ต้องนอน รพ.นานขึ้น 3. Moderate : มีอันตราย/บาดเจ็บปานกลาง ต้องการการรักษาพยาบาลหรือทำหัตถการ อาจมีการสูญเสียการทำหน้าที่ของร่างกายเล็กน้อยหรือชั่วคราว 4. Major : มีอันตราย/บาดเจ็บรุนแรง อาจทำให้สูญเสียอวัยวะหรือการทำหน้าที่ของร่างกายอย่างถาวร 5. Catastrophic : อุบัติการณ์นำไปสู่การเสียชีวิตหรือทุพพลภาพอย่างถาวร

18 คำนิยาม “ความรุนแรง (Consequence/Severity)” ด้านอื่นๆ
** ดูรายละเอียดตามเอกสาร **

19 การประเมินผลกระทบ (Impact) / ความรุนแรง (Severity)

20 การประเมินความถี่ (Frequency / โอกาสเกิด (Likelihood)

21 ระดับความเสี่ยง (Risk Level / Risk Matrix)

22 สรุปบัญชีความเสี่ยงด้านทั่วไป (Risk Profile of Non-Clinical Risk)

23 สรุปบัญชีความเสี่ยงด้านคลินิกทั่วไป (Risk Profile of Common Clinical Risk)

24 สรุปบัญชีความเสี่ยงด้านคลินิกเฉพาะโรค (Risk Profile of Specific Clinical Risk)

25 ประโยชน์ของ Risk Profile

26 จาก Risk Profile นำไปสู่การพัฒนาในด้านต่างๆ
ภาพรวมความเสี่ยง ประเด็นความรุนแรง แผนยุทธศาสตร์องค์กร ภาพรวมโรคแต่ละโรค Clinical population , Clinical tracer Highlight ภาพรวมในแต่ละ Care process พัฒนากระบวนการการดูแลผู้ป่วย ภาพรวมในแต่ละหน่วยงาน ช่วงเวลา พัฒนาหน่วยงาน ภาพรวมในระบบงานสำคัญ ที่ควรประสานเชื่อมโยง ระบบงานสำคัญ

27 (3.) การรับมือกับความเสี่ยง : Risk Treatment
Risk Treatment Plan •Risk prevention : กำหนดมาตรการป้องกันที่รัดกุม •Risk monitoring : ติดตามตัวชี้วัดหรือข้อมูลเพื่อตรวจจับโอกาสเกิดอุบัติการณ์ หรือรับทราบสถิติการเกิดอุบัติการณ์ •Risk mitigation : การทุเลา / บรรเทาความเสียหายเมื่อเกิดอุบัติการณ์ Quality Improvement Plan : หาคำตอบที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในการป้องกันอุบัติการณ์ / แผนการดำเนินการใหม่ๆ

28 (4.) การติดตามและทบทวนความเสี่ยง Risk Monitoring & Risk Review
•คือการกำกับดูแล ตรวจสอบและสังเกตอย่างต่อเนื่องในสิ่งที่กาลังเกิดขึ้น เพื่อประเมินว่าจะบรรลุสิ่งที่คาดหวังไว้หรือไม่ การทบทวนความเสี่ยง (Risk Review) •คือการพิจารณาว่าสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นเหมาะสม เพียงพอ และได้ผลในการบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดหรือไม่

29 หา Swiss Cheese ในสองระนาบให้พบ ในแต่ละ Care Process

30 แล้วไปให้ถึงปัจจัยองค์กร เพื่อรวมมาปรับมาตรการป้ องกันความเสี่ยง
แล้วไปให้ถึงปัจจัยองค์กร เพื่อรวมมาปรับมาตรการป้ องกันความเสี่ยง

31 ทำและใช้ RCA อย่างมี Passion

32 Root Cause Analysis and Action to Prevent Harm : RCA2
RCA 5 Steps Story & Timeline Potential Change Listen to Voice of Staff Swiss Cheese Creative Solution

33 Timing Timing of RCA.2 Event Review  เริ่มภายใน 72 ชั่วโมง
จบภายใน 45 วัน Timing for Action Review  ทำร่วมกับการทบทวน Risk Register

34 Risk Register : ทะเบียนจัดการความเสี่ยง

35 Risk Register คือ ??? คือเอกสารหลักหรือ Master document ที่รวบรวมข้อมูลพื้นฐานของความเสี่ยงที่เกิดขึ้น เพื่อนำไปสู่การวางแผนการบริหารความเสี่ยง ซึ่งเป็นขั้นตอนที่ดำเนินการก่อนที่จะดำเนินการจริงเพื่อพัฒนาต่อไป ซึ่งหากการวางแผนไม่เหมาะสม ได้แผนการบริหารความเสี่ยงที่ไม่ดี ก็เท่ากับว่าหน่วยงานหรือองค์กรไม่มีแผนสำหรับการบริหารจัดการกับความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลดีพอ และเมื่อวางแผนแล้ว ก็นำไปสู่การปฏิบัติติดตาม และประเมินผล เพื่อลดโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ อุบัติการณ์

36 ตัวอย่าง Risk Identification

37 ตัวอย่าง Risk Analysis

38 ตัวอย่าง Risk Treatment

39 ตัวอย่าง Risk Treatment

40 ตัวอย่าง Risk Monitoring & Risk Review

41 Risk Management Process & DALI (ADLI)

42 บูรณาการ SIMPLE กับ Risk Register และเครื่องมือคุณภาพอื่นๆ
ทะเบียนความเสี่ยงที่มีชีวิต FMEA วิเคราะห์ความล้มเหลวและผลกระทบ Gap Analysis วิเคราะห์ส่วนขาด Human-Centered Design ออกแบบโดยเน้นคนเป็นศูนย์กลาง KPI Monitoring ติดตามตัวชี้วัดสำคัญ Trigger Tool ใช้ trigger หาเวชระเบียนมาทบทวน Trace ตามรอยดูการปฏิบัติจริง RCA& redesign วิเคราะห์ root cause และออกแบบใหม่

43 Risk Register รพ.ของเรา ควรจะเริ่มต้นอย่างไร ?

44 มองภาพรวม มองความเป็นทั้งหมด
1. รวบรวมรายการความเสี่ยงจากทุกแหล่งที่มี เช่น Risk Profile , SIMPLE , รายงานอุบัติการณ์ , การทบทวนเวชระเบียน , MM conference ฯลฯ 2. วิเคราะห์ระดับโอกาสเกิดและผลที่จะตามมาของทุกความเสี่ยง เหมือนกับที่เราทำใน Risk Profile 3. คำนวณระดับความเสี่ยงด้วยการเอาโอกาสเกิดกับผลกระทบ 4. แบ่งรายการความเสี่ยงนับร้อยๆ เป็นสามกลุ่ม : กลุ่มที่สำคัญสูง กลุ่มที่สำคัญปานกลาง และกลุ่มที่สำคัญน้อย

45 มากเท่าไรก็จัดการได้ ตามระดับความเสี่ยง
 กลุ่มที่สำคัญสูง ร่วมกันกำหนด/ทบทวนแนวทางป้องกัน และการเตรียมพร้อมตอบสนองเมื่อเกิดเหตุ มอบหมายผู้ทำหน้าที่ risk owner มีหน้าที่ทบทวนการปฏิบัติตามมาตรการป้องกัน ระดับอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้น และ พิจารณาว่าควรเพิ่มมาตรการป้องกันอย่างไร ทบทวนอย่างน้อยทุก 3 เดือน จำนวนความเสี่ยงในรายการนี้ พิจารณาจากจำนวนความเสี่ยงที่สำคัญสูง ร่วมกับจำนวนคนที่จะมาทำหน้าที่ risk owner  กลุ่มที่สำคัญปานกลาง มอบให้คณะกรรมการที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงนั้นๆ ทบทวนมาตรการป้องกัน และทำหน้าที่ risk owner ทบทวนเหมือนกลุ่มที่สำคัญสูง แต่ความถี่ของการทบทวนอาจจะห่างกว่าความเสี่ยงที่สำคัญสูง กลุ่มความเสี่ยงที่สำคัญน้อย อาจจะมีโอกาสพบน้อย ความรุนแรงน้อย ตรวจสอบว่ามีมาตรการป้องกันอยู่ในคู่มือแล้วหรือไม่ ถ้ามีก็หาวิธีการสื่อสารและทำให้มั่นใจว่ามีการรับรู้และปฏิบัติ (ซึ่งกลุ่มนี้คาดว่าจะมีจานวนมากที่สุด) ด้วยแนวทางเช่นนี้ จะรับมือความเสี่ยงได้ทุกรายการ ตั้งเป้ากวาดให้หมดใน 3 เดือน

46 Thank You


ดาวน์โหลด ppt Risk Management in New HA Standards

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google