บริการปฐมภูมิ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
Advertisements

งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
HA คืออะไร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
25/07/2006.
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กลไกการสนับสนุนการ ดำเนินงาน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ตำบล และ การพัฒนาระบบรับ - ส่งต่อแบบ บูรณาการ 2552.
สรุปการประชุม เขต 10.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
นโยบายสร้างความเป็น เอกภาพ ลดความเหลื่อมล้ำของ ๓ กองทุน นายแพทย์สมชัย นิจพานิข รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
โครงสร้างสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
คู่มือการบันทึกข้อมูล 7 แฟ้ม กลุ่มข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
การปฏิบัติตามนโยบาย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
โครงการลดความแออัดของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บริการปฐมภูมิ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล ชวนันท์ สุมนะเศรษฐกุล

ประชากร ใน กรุงเทพมหานคร สิทธิการรักษา จำนวนประชากร (x 1,000,000) UC 3.59 ประกันสังคม 2.96 ข้าราชการ 0.74 อื่นๆ 0.72 (ฐานทะเบียนราษฎร์ พ.ศ. 2554 )

บริบทพื้นที่กรุงเทพมหานคร รูปแบบ เมือง กึ่งเมือง ชนบท หน่วยงานสุขภาพ สำนักการแพทย์ สำนักอนามัย กลาโหม มหาดไทย กรมการแพทย์ มหาวิทยาลัย เอกชน ขนาดสถานบริการ เล็ก กลาง ใหญ่ เครือข่าย อินเตอร์ รูปแบบบริการ โรงพยาบาลเน้นการรักษา แต่อยากมีปฐมภูมิของตนเอง คลินิก/ศบส. ให้ความสำคัญกับการรักษาโรค งานบริการ Private clinic Clinic UC ร้านขายยา คลินิกทันตกรรม แพทย์ทางเลือก

ปัญหาพื้นที่กรุงเทพมหานคร ขาดการจัดการจากกระทรวงสาธารณสุข บริการ IP มีปัญหาเรื่องเตียง Admit บริการปฐมภูมิ ไม่มีทิศทางที่ชัดเจน ภาครัฐมุ่งเป็น tertiary care ภาคเอกชนต้องรับผิดชอบภาระทางการเงินด้วยตัวเอง มีหลากหลายรูปแบบ คนกรุงเทพขาดความรู้สึกมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของพื้นที่ สปสช.เข้ามากำกับงานหลายอย่างที่ทาให้หน่วยบริการทางานยากขึ้น สำนักการแพทย์ สำนักอนามัยไม่ได้มีอานาจการจัดการระบบบริการอย่างเบ็ดเสร็จ ประชาชนพึ่งพาตนเองเมื่อป่วยเล็กน้อย และ พึ่งพาระบบเมื่อเป็นโรคเรื้อรัง การเรียกร้องสิทธิเพื่อให้ได้สิทธิ การฟ้องร้องสูง

การกระจายตัว ของโรงพยาบาลรัฐบาล และ โรงพยาบาลเอกชน ที่รับสิทธิ UC (ข้อมูลปี 2552)

การกระจายตัว ของศูนย์บริการสาธารณสุข และ คลินิกชุมชนอบอุ่น

บริบทของคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล (ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม) บริบทของคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล (ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม) รพ.เน้น organ / technology based พื้นที่อยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของสำนักอนามัย โรงพยาบาลอยากได้ข้อมูลจากหน่วยปฐมภูมิ หน่วยบริการปฐมภูมิอยากได้ข้อมูลการรักษาผู้ป่วยในโรงพยาบาล

สิ่งที่ทำในคณะแพทยศาสตร์ ประสานงานเชื่อมโยงข้อมูลให้กับหน่วยบริการปฐมภูมิ และโรงพยาบาลผ่านทางโทรศัพท์, โปรแกรม HHC refer และ อื่นๆ ติดตาม พูดคุยกับแพทย์เฉพาะทางเกี่ยวกับ home-health-social-financial issues เป็นรายๆสำหรับผู้ป่วย ให้นักศึกษาแพทย์ทำงานประสานงานข้อมูลผู้ป่วยและฝึกปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมินอกโรงพยาบาล โดยมีอาจารย์กำกับ ใช้ HRQoL (EQ-5D และ แบบประเมินสุขภาพจิต) ประเมินภาวะสุขภาพของผู้ป่วยและผู้ดูแลผู้ป่วย

ปัญหาที่พบ แพทย์ในโรงพยาบาลให้ความสำคัญน้อย แต่ละเขตมีวิธีการที่แตกต่างกัน แม้ว่าอยู่ในระบบเดียวกัน ไม่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลได้ โรงเรียนแพทย์ให้ความสำคัญกับงานบริการปฐมภูมิน้อย.......

Connected node of each patient คลินิก โรงพยาบาล ศบส. HHC ตจว. สถานบริการอื่นๆ

Physician density (per 1000 population) From WHO http://gamapserver.who.int/gho/interactive_charts/health_workforce/PhysiciansDensity_Total/atlas.html