Personal Data eXchange

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

กองจัดการ กรมกำลังพลทหารบก
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
มารู้จัก e-GP กันเถอะ.
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
เตรียมเข้าโค้งสุดท้ายโครงการสัมมาชีพ
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
คอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ
ภาพรวมแนวคิดของโครงงาน
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
การพัฒนาการให้บริการระบบสารสนเทศ งานทะเบียนผ่าน smart device
การสื่อสารทางไกลและเครือข่าย (Telecommunication And Networks)
แนวทางการพัฒนามาตรฐาน ข้อมูลบริการสุขภาพ
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
การเก็บข้อมูลตามตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์ ของกรมแพทย์ทหารบก
พิธีเปิด การจัดกิจกรรม KM DAY ของ อล. ทร
การซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์หลัก ๘ ประเภท
กรอบการปฏิบัติในด้านการบริหารจัดการกำลังพล
ขั้นตอนการเสนอขออนุมัติโครงการ
สรุปผลการดำเนินงานเว็บ ศูนย์จัดการองค์ความรู้กองทัพบก ในห้วงที่ผ่านมา
ผลการสัมมนา กลุ่มที่ ๒ ผู้ร่วมสัมมนา น.ท.บำเพ็ญ ศรีสมบัติ ประธาน ฯ
ประชุมคณะทำงานพัฒนาระบบราชการ ของ สปท. ครั้งที่ 2/55
ฟังก์ชันการแก้ไขข้อมูลประวัติกำลังพล จากคำสั่งเกี่ยวกับ ปรับย้าย
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
KM RID Team Work / Team Learning / AAR.
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การจัดการ งานสารบรรณแนวใหม่
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เป็นนโยบายต่อเนื่อง ซึ่งกำหนดให้มี การพัฒนาหน่วยงานให้เป็นองค์กร แห่งการเรียนรู้ ด้านกำลังพล.
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10
๑. เป้าหมายการอบรม ๑. เป็นการจัดการฐานข้อมูลสู่ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Database Technology) ให้เกิดเอกภาพและทิศทางเดียวกัน ๒. เป็นการจัดการเครือข่ายฐานข้อมูลเทคโนโลยี
สรุปภารกิจ รุ่นที่ ๒ ๑. ขอบเขตข้อมูลกำลังพลปีงบประมาณ ๒๕๔๙ และ ๒๕๕๐
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
เทคโนโลยีสารสนเทศ ง นายธวัชชัย ฝ่ายพลแสน
เส้นทางสู่ “ ข้อมูลแข็งแรง ” ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก กรมอนามัย งานสารสนเทศ ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
ผังแสดงกรอบแนวคิดในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้านการบริหารโครงการ
สรุปผลการปฏิบัติงาน พัน.นร.รร.การบิน ทบ. ( ห้วง ต.ค.๕๖ – ม.ค.๕๗ )
ระบบสำนักงานไร้กระดาษ (e-Office)
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
กลยุทธ์และกระบวนการสร้างการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
สรุปประเด็นข้อตรวจพบ
การประชุมสมัชชาคุ้มครอง ผู้บริโภคสื่อ วันที่ ๒๖ – ๒๗ เมษายน พ. ศ. ๒๕๕๓.
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
ปัญหาการวิจัย วิชา MIS เป็นวิชาที่เน้นทฤษฎีแต่ถูกจัดให้เรียนในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ซึ่งนักศึกษาส่วนหนึ่งขาดความสนใจ เล่นเฟสบุ๊ค (Face book) ในขณะที่ครูสอนและทุกครั้งที่มีโอกาส.
ภายใต้ความร่วมมือ 3 องค์กรหลัก
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
สรุปภารกิจของฝ่ายสารสนเทศ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผศ. ดร. พีรพงษ์ บุญสวัสดิ์กุลชัย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Personal Data eXchange การจัดทำฐานข้อมูลประวัติกำลังพล ทบ. Personal Data eXchange (PDX)

จากกระแสการเปลี่ยนรูปแบบวิธีการปฏิบัติราชการ ที่ต้องการความรวดเร็วถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ส่วนราชการมีข้อมูลที่สามารถนำมาใช้ประกอบการตัดสินใจและพัฒนาปรับปรุงขั้นตอนของการปฏิบัติงานต่างๆ ให้ประสานสอดคล้องกัน กองทัพบกจึงได้ริเริ่มในการพัฒนาระบบ E-Army ขึ้นเพื่อรองรับการปรับตัวในเรื่องวิธีปฏิบัติงานให้เปลี่ยนผ่านไปสู่การใช้ระบบสารสนเทศในแต่ละสายงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2549

จากการพัฒนา และการนำระบบ MIS ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบ E-Army มาใช้งานจริงตั้งแต่ปี 2553 ถึงปัจจุบัน พบว่า แนวคิดในการใช้เครือข่ายการเชื่อมต่อแบบปิดเพื่อการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลการใช้งานระบบนั้น มีปัญหาเนื่องจาก ทบ. ยังไม่สามารถวางเครือข่ายสื่อสารข้อมูลครอบคลุมไปได้ถึงทุกที่ตั้งหน่วยทหารใน ทบ.

ที่มาของการพัฒนาระบบ PDX ในปัจจุบันพบว่า แม้ ทบ. จะยังมิได้กำหนดให้ทุกหน่วยเข้าใช้งานระบบ MIS แต่ก็มีหลายหน่วยริเริ่มจัดทำระบบสารสนเทศเล็ก ๆ ภายในหน่วย เพื่อจัดเก็บหรือใช้งานข้อมูล ซึ่งรวมไปถึงในระดับที่สูงกว่า ทบ. คือ กห. และ บก.ทท. ตลอดจน หน่วยงานอื่นนอก ทบ. หน่วยต่าง ๆ เหล่านี้ต่างก็มีการพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นการเฉพาะของตนขึ้นใช้งาน

ที่มาของการพัฒนาระบบ PDX โดยเฉพาะภายใน ทบ. นั้น โปรแกรมที่มีใช้งานบ้างแล้ว พบว่า ข้อมูลที่หน่วยบันทึกยังมีความคลาดเคลื่อน ขาดความถูกต้องสมบูรณ์ และที่สำคัญ คือ ไม่สามารถบูรณาการเชื่อมโยงข้อมูลร่วมกันระหว่างหน่วยได้ โดยเฉพาะเพื่อนำมาใช้สำหรับบริหารจัดการกำลังพลระหว่างหน่วย

ที่มาของการพัฒนาระบบ PDX จากที่กล่าวมา จึงสรุปปัญหาสำคัญของการใช้ระบบ MIS สายงานกำลังพล ได้ 2 ประเด็น คือ 1. ความไม่พร้อมของเครือข่ายแบบระบบปิดไปถึงทุกที่ตั้งหน่วยทหารทั้ง ทบ. 2. ขาดการบูรณาการข้อมูล แลกเปลี่ยนเชื่อมโยงเพื่อปรับปรุงความถูกต้องของข้อมูลระหว่างโปรแกรมต่าง ๆ

ที่มาของการพัฒนาระบบ PDX หน่วย A หน่วย C ทบ. หน่วย B หน่วย C กห. บก.ทท.

การพัฒนาระบบ PDX เพื่อให้มีการบูรณาการข้อมูลระหว่างโปรแกรมระบบต่างๆ ที่มีใช้งานอยู่แล้วสำหรับการใช้งานร่วมกับ กห., บก.ทท. และหน่วยงานอื่นนอก ทบ. ตลอดจน โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นเองของหน่วยภายใน ทบ. (ในขั้นต้นโปรแกรมภายใน ทบ. กำหนดเฉพาะระบบ MIS และ E-battallion) และเพื่อให้มีฐานข้อมูลกำลังพลกลางในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ที่มีการรับรองความถูกต้อง รวมทั้งผ่านกระบวนการ หรือขั้นตอนตามแบบแผนซึ่งเป็นไปตามรูปแบบมาตรฐานของสายงานสารบรรณ

“ระบบ Personal Data eXchange (PDX)” กพ.ทบ. ร่วมกับ สบ.ทบ. และ ศทท. จึงได้พัฒนาระบบฐานข้อมูลกลางสำหรับใช้รองรับการเชื่อมโยงข้อมูลกับโปรแกรมต่างๆ ในระดับ ทบ. ขึ้น โดยใช้ชื่อว่า “ระบบ Personal Data eXchange (PDX)” ทั้งนี้ แนวคิดในการพัฒนาระบบ PDX นั้น มีพื้นฐานอยู่บนการใช้งานข้อมูลที่เป็นมาตรฐานกลาง และให้สามารถแลกเปลี่ยนกับระบบงานของ กห. ,บก.ทท. , ระบบ MIS และระบบ E-battallion ได้ รวมทั้ง มีการออกแบบให้ทุกหน่วยเข้าถึงโปรแกรมระบบ PDX ได้โดยผ่านการใช้งานเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

เอกสารอ้างอิง ประกอบการพัฒนาระบบ PDX ๑. หนังสือ ยก.ทบ. ด่วนมาก ที่ กห ๔๐๓ /๘๕๓ เรื่อง ขออนุมัติแผนการดำเนินงานปีแห่งการพัฒนาการบริหารจัดการและการฝึกของ ทบ. ที่มุ่งไปสู่ผลสัมฤทธิ์ ลง ๑๖ ม.ค. ๕๖ ๒. หนังสือ กพ.ทบ. ด่วนมาก ที่ กห ๐๔๐๑/๒๒๑๙ เรื่อง ขออนุมัติแนวทางดำเนินการจัดทำข้อมูลกำลังพลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ในปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ลง ๑๘ ก.ค. ๕๖ ๓. หนังสือ กพ.ทบ. ด่วนมาก ที่ กห ๐๔๐๑/๓๕๖๙ เรื่อง การจัดทำฐานข้อมูลกำลังพลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ลง ๑๘ พ.ย. ๕๖

แนวทางบูรณาการข้อมูล การพัฒนาระบบ PDX ในปีงบประมาณ 2556 ทุกหน่วย ( เว้น *) ใช้งานระบบ e-battalion 25 หน่วยส่วนกลาง+3 ( * ) ใช้งานระบบ MIS ดึงข้อมูลเชื่อม เข้าสู่ฐานข้อมูลของ ระบบ PDX ฐานข้อมูลระบบ E-battalion ฐานข้อมูล ระบบ MIS แนวทางบูรณาการข้อมูล ระหว่างระบบ

หน่วยต่างๆ บันทึกข้อมูล การพัฒนาระบบ PDX ในปีงบประมาณ 2557 ทุกหน่วย ( เว้น *) ใช้งานระบบ e-battalion 25 หน่วยส่วนกลาง+3 ( * ) ใช้งานระบบ MIS (ตรวจสอบ ) ฐานข้อมูล ระบบ PDX ฐานข้อมูลระบบ E-battalion ฐานข้อมูล ระบบ MIS หน่วยต่างๆ บันทึกข้อมูล ประวัติกำลังพล ผ่านระบบ PDX

แผนงานและลำดับขั้นการปฏิบัติในปีงบประมาณ 2557 กำหนดกลุ่มงานที่ปฏิบัติเป็น 6 งาน ดังนี้ 1. งานการออกแบบโครงสร้างข้อมูล 2. งานกำหนดโครงสร้างสิทธิการใช้งานระบบ 3. งานให้ความรู้แก่ผู้ใช้งานระบบ 4. งานการปรับปรุงแก้ไขข้อมูลกำลังพลในภาพรวม 5. งานจัดทำ และแก้ไขทำเนียบบรรจุกำลังพล 6. งานจัดทำระบบงานกำลังพลเพิ่มเติม

จัดทำ Application เพิ่มเติม เพื่อใช้ประโยชน์ข้อมูลจากระบบ PDX แนวทางดำเนินการต่อไป ใช้ประโยชน์จาก ระบบ E-battalion ข้อมูลกลาง ในระบบ PDX ใช้ประโยชน์จาก ระบบ MIS จัดทำ Application เพิ่มเติม เพื่อใช้ประโยชน์ข้อมูลจากระบบ PDX

PDX END