นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวปฏิบัติที่ดี เรื่อง “ทบทวนการสรรหาบุคลากร ให้มีประสิทธิภาพ”
Advertisements

งานข้อมูล และ เทคโลโลยีสารสนเทศกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ ส่งเสริมและพัฒนาระบบสารสนเทศชุมชน
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
คำสำคัญ (Keywords) ที่แสดง คุณภาพ ระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา โดยหน่วยงานต้น สังกัด สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพม.35.
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
ขั้นตอนการดำเนินงานศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมระดับหน่วยงาน
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔
**************************************************
การตรวจประเมินเชิงประจักษ์ ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ภาพรวมผลการตรวจสอบพบจุดอ่อนที่ต้องควบคุม ของโรงพยาบาล
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ดำเนินงานอนามัยวัยทำงาน ปี 2555
๑. เป้าหมายการอบรม ๑. เป็นการจัดการฐานข้อมูลสู่ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Database Technology) ให้เกิดเอกภาพและทิศทางเดียวกัน ๒. เป็นการจัดการเครือข่ายฐานข้อมูลเทคโนโลยี
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
การขับเคลื่อนระบบข้อมูลทันตสาธารณสุข ระดับจังหวัด
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ทองดี มุ่งดี สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กรกฎาคม ๒๕๕๖
การบริหารและพัฒนาบุคลากร ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขต ๘
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
“เป็นหน่วยงานที่มีประสิทธิภาพสูงในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของโรงพยาบาล”
การยกระดับคุณภาพ กศน. ๑. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชน ทุกกลุ่มเป้าหมายด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพ ๒. ยกระดับคุณภาพงานการศึกษานอกระบบแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
๙. เปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป (ก.๗-๐๐๓ หน้า ๘)
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
๖. การเยี่ยมเยียน การ เรียนรู้ นิเทศ ติดตาม ๗. มีระบบสนับสนุน ๘. ระบบการส่งต่อ ๙. ระบบสารสนเทศ เก็บ รวบรวมข้อมูล ปรับปรุงข้อมูล ๑๐. นำไปสู่การปฏิบัติ
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
การเขียนโครงการ.
ข้อที่ 7 ผลการดำเนินงานในรอบปีบัญชี สุดท้ายสหกรณ์ ต้องไม่กระทำการอัน เป็นการฝ่าฝืนกฏหมาย ระเบียบ คำสั่ง ปัญหา / สาเหตุ การ ป้องกั น แนว ทางแก้ ไข มาตรฐาน.
Health Script The Universal Health Data Center.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่ รพ.สต. เพิ่มขึ้น (ร้อยละ 10 เพื่อลดความแออัดของผู้ป่วยโรคเรื้อรังใน โรงพยาบาล โดยการย้ายผู้ป่วยโรคเรื้อรังจาก รพ.แม่ข่าย ไปสู่ รพ.สต.) ระบบนี้จะช่วยให้ สสจ. ที่ติดตั้งเว็บเซอร์วิส PROVIS-NCD สามารถซิงค์ข้อมูลโรคเรื้อรัง(เบาหวาน, ความดัน) ทั้ง ประวัติการคัดกรองโรคเรื้อรังและ ประวัติการรับบริการของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่อาศัยในเขตรับผิดชอบของหน่วยบริการ รพ.สต. หรือ PCU ของโรงพยาบาลลงมาประมวลผล โดยผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต

3) มีการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคพื้นฐานได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน เช่น EPI, ANC, คัดกรองโรคเรื้อรัง, Papsmear การแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อสนับสนุนในด้านการประเมินความครอบคลุมการได้บริการด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของประชาชนในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.

สปสช. สนย. PROVIS รพ.แม่ข่าย PROVIS รพ.แม่ข่าย ประชากรในพื้นที่ ข้อมูล 21 แฟ้ม สนย. OP package PP package PP package OP package ข้อมูล21แฟ้ม ข้อมูล21แฟ้ม PROVIS PHP เว็บแอพพลิเคชั่น PROVIS รพ.แม่ข่าย PROVIS รพ.แม่ข่าย สสจ.ปข. ประชากรในพื้นที่ ประชากรในพื้นที่ ประชากรในพื้นที่ Jhcis รพ.สต. ประชากรในพื้นที่ Jhcis รพ.สต. Jhcis รพ.สต. Jhcis รพ.สต.

แนวทางการดำเนินงานระบบข้อมูลผู้ป่วยนอก และการส่งเสริมป้องกันโรครายบุคคล (OP/PP Individual) ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ รพ.สต. สำรองข้อมูล JHCIS อัพเดทเวอร์ชั่น JHCIS ให้เป็นวันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๕๕ เพื่อรองรับการ Sync ข้อมูลจากฐานจังหวัด ปรับปรุงโครงสร้างทั้งหมด ๑ ครั้ง บันทึกและปรับปรุงข้อมูลพื้นฐาน เช่น ประวัติบุคคล ให้ครบถ้วนถูกต้องและเป็นปัจจุบัน ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ๒๑ แฟ้ม ด้วยโปรแกรม OP/PP เวอร์ชั่นปัจจุบัน ทำการส่งออกข้อมูล ๒๑ แฟ้ม ทั้งหมด ให้กับรพ.แม่ข่าย เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลตั้งต้นของเครือข่าย ในครั้งต่อไป ให้ตัดยอดส่งเฉพาะที่มีการเปลี่ยนแปลง ส่งให้รพ.แม่ข่ายสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง จัดทำทะเบียนการส่งข้อมูล ๒๑ แฟ้ม โดยให้ระบุ วัน / เดือน / ปี ที่จัดส่ง, ขนาดของไฟล์, ชื่อผู้จัดส่ง, วิธีส่ง เพื่อใช้ในการตรวจสอบการจัดส่งข้อมูล

รพ.แม่ข่าย ตรวจสอบให้ Server ที่เป็นฐานข้อมูล ๒๑ แฟ้ม ระดับอำเภอ สามารถ online ได้ เมื่อมีการนำเข้าข้อมูลของ รพ.สต. ภายในเครือข่าย เพื่อรองรับการส่งข้อมูลให้ Server จังหวัด นำเข้าข้อมูล ๒๑ แฟ้ม ของรพ.สต. ทันทีที่มีการรับข้อมูลจากรพ.สต. ตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูล ๒๑ แฟ้ม ที่ทำการนำเข้า Server ระดับอำเภอ จัดทำทะเบียนการส่งข้อมูล ๒๑ แฟ้ม โดยให้ระบุ วัน / เดือน / ปี ที่จัดส่ง, ขนาดของไฟล์, ชื่อผู้จัดส่ง, วิธีส่งของรพ.สต.ในเครือข่าย เพื่อใช้ในการตรวจสอบการจัดส่งข้อมูล

อำนาจหน้าที่คณะกรรมการฯ คณะกรรมการระดับจังหวัดฯ หน้าที่รับผิดชอบ ๑. ศึกษาการจัดเก็บข้อมูลระบบรายงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทำฐานข้อมูลของหน่วยงานบริการ ๒. จัดทำและพัฒนาระบบฐานข้อมูลสำคัญที่ใช้ในการวางแผน การดำเนินงาน ติดตามผลการดำเนินงานสาธารณสุข รวมทั้งแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของระดับปฏิบัติ ๓. การตรวจสอบ วิเคราะห์คุณภาพข้อมูล และติดตามการจัดทำ/ส่งข้อมูล รายอำเภอ ๔. การออกแบบและนำข้อมูลมาใช้จัดทำรายงาน ในระดับ ตำบล อำเภอ และจังหวัดฯ ๕. การประสานศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศกระทรวงสาธารณสุข ในการพัฒนาระบบรายงานให้ถูกต้องและเพียงพอในการใช้งาน

๖. จัดทำแผนพัฒนาศักยภาพ อบรมการใช้งานฐานข้อมูล ๒๑ แฟ้ม ระดับจังหวัด/อำเภอ/ตำบล ๗. พัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้อมูลระดับ ตำบล/อำเภอ/จังหวัด เพื่อการใช้ประโยชน์ ๘. นิเทศติดตาม การดำเนินการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระดับหน่วยบริการ ๙. วิเคราะห์ จัดทำแผนความจำเป็นด้าน วัสดุ ครุภัณฑ์ ในการพัฒนาระบบสารสนเทศ ๑๐.สรุปผลการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ รายงานผู้บริหาร

คณะกรรมการระดับอำเภอฯ หน้าที่รับผิดชอบ ๑. รวบรวมข้อมูลปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ ของหน่วยบริการทุกแห่ง ๒. จัดทำแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับปัญหาที่พบ และดำเนินการแก้ปัญหาให้บรรลุผลตามเป้าหมาย ๓. วางแผนจัดหา พัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ Hard ware , Sofe ware , Net work ของหน่วยบริการ ให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๔.ดำเนินการรวบรวมฐานข้อมูล ๒๑ แฟ้มของหน่วยบริการ นำเข้าฐานข้อมูลอำเภอ (PROVIS)สัปดาห์ละ ๑ ครั้ง

๕.ตรวจสอบคุณภาพข้อมูลให้ ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา อย่างสม่ำเสมอ ๖.นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน และปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ ๗.สรุป รายงาน ผลการพัฒนาระบบสารสนเทศ นำเสนอผู้บริหาร