สถานการณ์โรคโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 1 ม.ค.56 – 25 มิ.ย.56
โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ข้อมูล 1 มกราคม - 25 มิถุนายน 2556 โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ข้อมูล 1 มกราคม - 25 มิถุนายน 2556 ลำดับ โรค จำนวนป่วย อัตราป่วย จำนวนตาย อัตราป่วยตาย 1 Diarrhoea 3,278 703.31 0 0.0 2 Pneumonia 695 149.12 14 2.01 3 Food Poisoning 289 62.01 0.00 4 D.H.F. 285 61.15 0 5 H.conjunctivitis 279 59.86 6 Chickenpox 206 44.20 7 S.T.D.Total ( โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ) 103 22.10 0.00 8 Hand,foot and mouth 101 21.67 9 Malaria 55 11.80 1.82 10 Toberculosis 49 10.51
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศไทย ปี 2556 จำนวนผู้ป่วยสะสม DHF+DF+DSS ณ วันที่ 2013-06-18 (สัปดาห์ที่ 24) จำนวนผู้ป่วย48,592ราย จำนวนผู้ป่วยตาย59ราย อัตราป่วยต่อแสนประชากร 75.83 อัตราตายต่อแสนประชากร 0.09 อัตราป่วยตาย (ร้อยละ) 0.12
อัตราป่วย 56.43 ต่อแสนประชากร 10 อันดับอัตราป่วยระดับประเทศ ( 1 มค. ถึง 18 มิย.56 ) ลำดับ จังหวัด อัตราป่วย 1 ภูเก็ต 2 กระบี่ 3 สงขลา 4 เลย 5 พังงา 6 นครพนม 7 ตราด 8 เชียงราย 9 เชียงใหม่ 10 มุกดาหาร 284.30 277.83 256.98 206.91 195.74 159.20 148.19 147.92 142.09 141.82 เพชรบุรี อัตราป่วย 56.43 ต่อแสนประชากร ประเทศ อันดับที่ 44 เขต อันดับที่ 4
อัตราป่วยในเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 5 ( 1 มค. ถึง 18 มิย.56 ) อันดับ จังหวัด อัตราป่วยต่อแสนประชากร 1 สมุทรสาคร 81.75 (1) 2 สมุทรสงคราม 60.28 (2) 3 นครปฐม 58.43 4 เพชรบุรี 56.43 (3) 5 ราชบุรี 44.14 6 ประจวบคีรีขันธ์ 35.31 (4) 7 สุพรรณบุรี 33.73 8 กาญจนบุรี 29.09
แผนภูมิแสดงจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดเพชรบุรีปีพ.ศ. 2555-2556 จำแนกรายเดือนเปรียบเทียบมัธยฐาน 5 ปี (2551-2555) จำนวนผู้ป่วย
ตารางจำนวนผู้ป่วย/อัตราป่วยไข้เลือดออก ปี 2556 จังหวัดเพชรบุรี จำแนกรายอำเภอและรายเดือน (ตามวันเริ่มป่วย) 1 ม.ค. - 24 มิ.ย. 56
จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก พื้นที่เฝ้าระวังการระบาดโรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 22- 25 (26 พ.ค. 56 -22 มิ.ย. 56) อำเภอ ตำบล รพ./รพ.สต. หมู่ที่ จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 22 (26 พค.-1มิย.56) สัปดาห์ที่ 23 (2-8 มิย.56) สัปดาห์ที่ 24 (9-15 มิย.56) สัปดาห์ที่ 25 (16-22 มิย.56) เมืองเพชรบุรี บ้านหม้อ 5 1 ชะอำ เขาใหญ่ หุบกะพง 8 ท่ายาง ท่าคอย หนองขานาง ท่าไม้รวก 6 บ้านแหลม ท่าแร้ง 7 ท่าแร้งออก 2 แก่งกระจาน เขากลิ้ง 3
แผนภูมิการแจ้งผู้ป่วยไข้เลือดออกเพื่อสอบสวนและควบคุมโรค สอบสวน/ควบคุมโรค รพช. พจก. ศูนย์ระบาดจังหวัด สสอ. รพ.สต. รพช. สสอ. สอบสวน/ควบคุมโรค สอบสวน/ควบคุมโรค
แผนภูมิการแจ้งผู้ป่วยไข้เลือดออกเพื่อสอบสวนและควบคุมโรค สอบสวน/ควบคุมโรค รพช. พจก. ศูนย์ระบาดจังหวัด สสอ. 118 รพ.สต. รพ.สต. รพช. สสอ. สอบสวน/ควบคุมโรค สอบสวน/ควบคุมโรค สอบสวน/ควบคุมโรค
การใช้วัคซีนในตู้เย็นภายหลังไฟฟ้าดับ กรณีตู้เย็นมีสภาพดี วัคซีนมีปริมาณไม่มาก และตู้เย็นมีอุณหภูมิไม่เกิน 25 องศาเซลเซียส จากข้อมูลความคงตัวของวัคซีนที่ใช้ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค บ่งชี้ไว้ว่าดังนี้ - วัคซีน JE และ MMR (GSK) ควรใช้ใน 1 เดือนนับจากเวลาที่ไฟฟ้าดับ - วัคซีน BCG , MMR (GPO-MBP),DTP-HB,DTP และ dT ควรใช้ภายใน 2 เดือน นับจากเวลาที่ไฟฟ้าดับ - วัคซีน HB และ Rabies ควรใช้ภายในเวลา 3 เดือน นับจากไฟฟ้าดับ - วัคซีน OPV สังเกตจากเครื่องหมาย VVM หากสีในสี่เหลี่ยมเข้มขึ้นเท่ากับหรือมากกว่าสีในวงกลม แสดงว่าไม่สามารถใช้วัคซีนนั้นต่อไปได้