งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์

2 สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สำนักระบาด 31/07 / 56 ประเทศ 87533 ราย เสียชีวิต 83 ราย อัตราป่วยต่อแสน 136.2 เขต 9 7398 ราย เสียชีวิต 6 ราย อัตราป่วยต่อแสน 110.92 – สุรินทร์ 2130 ราย 153.98 อัตราต่อ แสน – นครราชฯ 3101 ราย 119.58 อัตรา ต่อแสน – บุรีรัมย์ 1361 ราย 87.08 อัตราต่อแสน – ชัยภูมิ 806 ราย 71.31 อัตราต่อแสน

3 ไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์ งานระบาด สสจ. สุรินทร์ 19/08/56 ไข้เลือดออก จำนวน 3565 ราย อัตราป่วย 257.69 ต่อ ประชากรแสนคน ผู้เสียชีวิต จำนวน 5 ราย กลุ่มอายุ 10 - 14 ปี จำนวน 1191 ราย ผู้ป่วยสูงสุดคือนักเรียน จำนวน 2561 ราย มิถุนายน จำนวน 911 ราย โนนนารายณ์ อัตราป่วย 422.52 ต่อ ประชากรแสนคน

4 ข้อมูลผู้ป่วย 1. ดญ. 12 ปี 3/2/56 เสีย 10/2/56 ต. ขอนแตก อ. สังขะ 2. ดช. 4 ปี 24/2/56 1/3/56 เทศบาล อ. เมือง 3. ดญ 8 ปี 28/4/ 563/5/56 ต. เพี้ยราม อ. เมือง 4. ดญ 9 ปี 3/7/56 10/7/56 ต. ระแงง อ. ศีขร 5. ญ 20 ปี 3/7/56 11/7/56 ต.. คอโค อ. เมือง

5

6

7

8

9 ยอดสะสม เดือน มค

10 ยอดสะสม ถึงเดือน กพ

11 ยอดสะสม เดือน มีค

12 ยอดสะสม เดือน เมย

13 ยอดสะสม เดือน พค

14 ยอดสะสม ถึง มิย

15 ยอดสะสม - กค

16 เฉพาะเดือน 1 กค.-12 สค ข้อมุล ณ 12 สค หน้าแทรก

17 การระบาดของโรคไข้เลือดออก การควบคุมโรคต้องอาศัยความร่วมมือของ ประชาชน / สังคม สัดส่วนของผู้ติดเชื้อไม่แสดงอาการ พบได้ใน สัดส่วนที่สูง ร้อยละ 80-90 ( อ้างอิงจาก สำนักระบาด ) ผู้ติดเชื้อที่มีอาการ ถ้าไม่มีการวินิจฉัยเร็ว จะ ทำให้ตรวจจับการระบาดได้ไม่ไวพอ

18 ข้อเสนอแนะ ควรเฝ้าระวังหมู่บ้านที่ยังไม่พบการระบาด เนื่องจากเป็นกลุ่มเสี่ยงสูงและถ้าเกิดโรค มี โอกาสที่จะพบผู้ป่วยในหมู่นั้นจำนวนมาก การระบาดในหลายพื้นที่ น่าจะผ่าน Peak สูงสุดแล้ว แต่ยังต้องควบคุมเพื่อลดโอกาสใน การแพร่ ไปพื้นที่อื่น ควรต้องสอบสวนโรคในพื้นที่ระบาด (*) เพื่อ ประเมินและปรับเปลี่ยนการป้องกัน, ควบคุมโรค ให้เหมาะสมแต่ละ บริบทพื้นที่


ดาวน์โหลด ppt การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google