มาตรฐานการรักษาโรคที่สำคัญ ทางระบาดวิทยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
PEDIATRIC HEMATOLOGY/ONCOLOGY INTER-HOSPITAL CONFERENCE
ความน่าจะเป็น (Probability)
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
เป้าเบิกจ่าย งบรวม เป้าเบิกจ่าย งบลงทุน งบรวม เบิกจ่าย.
ไข้เลือดออก ( Denque hemorrhagic fever )
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การประเมินผลผลลัพธ์การดำเนินงาน ที่สำคัญ ( พ. ศ. ๒๕๕๓ ) ๑. ความพึงพอใจของประชาชนต่อคุณภาพ การให้บริการของหน่วยงานระดับ Front Office ( ๓. ๑. ๑. ๑ ) ๒. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการ.
Office of information technology
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
VDO conference dengue 1 July 2013.
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
สำนักวิชาการและแผนงาน
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 4) พ. ศ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2552 ดรุณี โพธิ์ศรี
ดัชนี. Th ai CI MyMy MLSVPh BRBR 4. สัดส่วน ระหว่าง แรงงาน ฝีมือ และไร้ ฝีมือ 16 % (20 06) 26 % (20 07) 80 % (20 09) % (20 07) %
สรุปผลการดำเนินงาน (เบื้องต้น) ม. ค. - มิ. ย ของ อ. อ. ป
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
ขั้นตอนการจัดนักศึกษาเข้าสังกัดสาขาวิชา
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมในเดือน ม. ค. 56 เพิ่มขึ้น 2 %
สำนักงานทรัพยากรน้ำภาค
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สาขาโรคมะเร็ง.
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
Dengue Hemorrhagic fever
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
สถานการณ์การส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยเขต 12
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
กราฟเบื้องต้น.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ตุลาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
กรณีศึกษา 1 ชายไทย อายุ 40 ปี น้ำหนัก กก. รับรักษาใน รพช. 30 มี
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
SEPSIS.
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนที่ 7
กรณีศึกษา 2 เด็กชายไทย อายุ 3 ปี 3 เดือน น้ำหนัก 14 กก. รับรักษาใน รพช
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มาตรฐานการรักษาโรคที่สำคัญ ทางระบาดวิทยา รศ.นพ.ภพ โกศลารักษ์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

โรคไข้เลือดออกเดงกี Dengue hemorrhagic fever (DHF)

มาตรฐานการรักษาโรคที่สำคัญทางระบาดวิทยา Clinical manifestation Diagnostic criteria Assess severity Treatment

สิ่งที่ต้องการให้ทราบ ทราบความแตกต่างของ DF vs. DHF สามารถจำแนกความรุนแรง (Grading) ให้คำแนะนำผู้ดูแลระยะไข้ได้ สามารถตัดสินใจในการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลได้ สามารถสั่งสารน้ำ การส่งตรวจและทราบหลักการติดตามผู้ป่วยระหว่างรักษา

การวินิจฉัยโรค อาการทางคลินิก : 1. ไข้ 2. เลือดออก 3. ตับโต อาการทางคลินิก : 1. ไข้ 2. เลือดออก 3. ตับโต 4. ภาวะช็อก Lab : 1. เกล็ดเลือด น้อยกว่าหรือเท่ากับ 100,000/ลบ.มม. 2. Hct เพิ่มขึ้น มากกว่าหรือเท่ากับ 20 %

ไข้สูง หน้าแดง โดยไม่มีน้ำมูก ไข้สูง หน้าแดง โดยไม่มีน้ำมูก Sensitivity Specificity วันที่ 1 ของโรค 73.3 93.3 วันที่ 2 ของโรค 90.5 89.2 วันที่ 3 ของโรค 85.5 87.9 (Teeraratkul , 1990)

การดำเนินโรคของ DHF 1. ระยะไข้ 2. ระยะวิกฤต / ช็อก 3. ระยะฟื้นตัว

ความรุนแรงของโรค (Grade) Bleeding and circulatory disturbance I : no spontaneous hemorrhage II : spontaneous hemorrhage III : PP < 20 mmHg IV : profound shock

Tourniquet test ผลบวก : > 10 จุดต่อตารางนิ้ว ผลบวก : > 10 จุดต่อตารางนิ้ว Sensitivity Specificity วันที่ 1 ของโรค 53.3 75.8 วันที่ 2 ของโรค 90.6 77.8 วันที่ 3 ของโรค 98.7 74.2

การเปลี่ยนแปลงทางห้องปฏิบัติการ 1. WBC 2. Platelet Hct Not routine: coagulogram, CXR, ESR

การดูแลรักษา : รักษาตามอาการและประคับประคอง : วินิจฉัยได้เร็ว : รักษาตามอาการและประคับประคอง : วินิจฉัยได้เร็ว : ติดตามดูอาการและการเปลี่ยนแปลงใกล้ชิด : ยาต้านไวรัส

การดูแลรักษา ระยะไข้สูง : เช็ดตัว ยาลดไข้ : แนะนำการดำเนินโรค ระยะไข้สูง : เช็ดตัว ยาลดไข้ : แนะนำการดำเนินโรค : แนะนำอาการนำของช็อก : อาจตรวจ Hct, Platelet : รักษาแบบ OPD case ถ้าดื่มน้ำ ของเหลวได้เพียงพอ

การดูแลรักษา ระยะไข้ลด : ให้น้ำตามการรั่วของพลาสมา : ให้น้ำตามการรั่วของพลาสมา การประเมินอาการเพื่อปรับการให้น้ำ : Clinical : Vital sign : Hct : Urine output

การดูแลรักษา: ระยะไข้ลด 1. Hct เพิ่มขึ้น , ไม่ช็อก 5%D/NSS = M + 3-5%deficit 2. ช็อก : 5%D/NSS = 10 - 20 ml/kg/h : profound shock ให้ 10 ml/kg bolus IV push : ค่อยๆ ลดอัตราการให้ IV fluid

ข้อควรระวัง 1. การรั่วของพลาสมา เกิดขึ้น 24 - 48 ชั่วโมง 1. การรั่วของพลาสมา เกิดขึ้น 24 - 48 ชั่วโมง 2. การให้สารน้ำก่อน ป้องกันการรั่วไม่ได้ 3. ให้สารน้ำเพื่อ maintain effective circulatory volume 4. อาจพบระดับโซเดียมต่ำ ควรให้ 5%D/NSS 5. ช็อกนาน Hct ลดลง คิดถึงภาวะเลือดออก 6. รักษาช้า ช็อกนาน เกิด DIC

หลักสำคัญในการดูแลผู้ป่วยระยะวิกฤต 1. ให้ IV fluid เมื่อมีการรั่วของพลาสมา 2. วินิจฉัยช็อกให้เร็ว 3. แก้ไขภาวะความผิดปกติของกรดด่าง 4. คิดถึงภาวะเลือดออกภายใน 5. ไม่ควรให้ IV fluid เกิน 24 - 48 ชั่วโมง

ข้อบ่งชี้ในการให้ IV fluid ในระยะวิกฤต 1. Hct rising , Plt < 100,000 และดื่มน้ำไม่ได้พอ 2. Hct > 20% 3. Impending shock หรือ shock

ชนิดของ IV fluid ในระยะช็อก : เด็กโต 5%D/NSS : เด็ก < 1 ปี ให้ 5%D/N/2 : Colloid solution

การให้ Dextran-40 : 10% Dextran-40 in NSS : osmalarity สูงกว่าพลาสมา 2 - 3 เท่า : 10 ml/kg/h ไม่เกิน 30 ml/kg/day : azotemia , bleeding

Rate IV fluid ในระยะวิกฤต ผู้ป่วยที่ไม่ช็อก : Maintenance + 5% deficit ผู้ป่วยช็อก : grade III 10 ml/kg/h : grade IV 10 ml/kg bolus หรือ free flow 5-10 min ตามด้วย 10, 7, 5 ml/kg/h * Monitor clinical, V/S, Hct, Urine output

เด็กหญิงอายุ 6 ปี มีไข้สูงมา 5 วัน ไม่มีอาการไอหรือ Case 1. เด็กหญิงอายุ 6 ปี มีไข้สูงมา 5 วัน ไม่มีอาการไอหรือ น้ำมูก เมื่อคืนไข้ลงแต่เด็กซึมและอาเจียน : Drowsy and vomiting, BW 16 kg : BP 90/60, PR 120/min, RR 24/min, : Liver 2 cm below RCM, petechiae at extremities : Tourniquet test - positive. Diagnosis, Stage, Grade??

CBC : Hb 14.4 gm%, Hct 45%, WBC 3,600, PMN = 23, L = 63, Atypical L = 10, M = 4 Platelet 32,000 cells/cu.mm.

Case 1. DATE BP PR Hct FLUID NOTE mmHg /min % Day 1 10.00 AM 90/60 120 45 ??? Cap refill 3 sec 12.00 PM 109/74 98 ate 2-3 spoon food 16.00 PM 98/48 83 38 ate 2-3 spoon food 18.00 PM 100/66 83 ??? void x 1 20.00 PM 106/32 81 37 24.00 PM 91/51 75 37

Case 1. BP PR Hct FLUID NOTE mmHg /min % Day 2 Day 3 06.00 AM 96/57 78 41 void x 1 08.00 AM 90/49 79 ??? ate half a plate 12.00 AM 96/50 88 good appetite 14.00 AM 90/50 100 35 20.00 PM 94/46 90 ??? void x 1 24.00 PM 91/51 75 37 Day 3 08.00 AM 95/55 80 discharge

Case 2. เด็กหญิงอายุ14ปี มีไข้สูงมา3วัน มีอาการไอเล็กน้อย ไม่มีน้ำมูก วันนี้เด็กซึมบ่นปวดท้อง : Looked sick and cold extremities : BP 90/80 mmHg, PR 112/min, very weak, T 36.1, RR 30/min, BW 55 kg : Cold, clammy skin, capillary refill 3 sec : Liver 2 cm below RCM : TT-positive with petechial rash on both lower extremities Diagnosis, Stage, Grade??

CBC : Hct 41.2%, WBC 3,300 /cu.mm. PMN 49, L 27, Atyp L 20, M 4 Platelet 22,000 /cu.mm.

Case 2. DATE BP PR Hct FLUID NOTE mmHg /min % Day 1 11.50 90/80 112 48 ??? cold,clammy skin 12.00 PM 100/70 108 ??? 13.00 PM 121/67 96 ??? 14.00 PM 111/60 87 40 ??? void x 1 16.00 PM 107/57 97 40 ??? ate some food 18.00 PM 108/54 98 42 1.7 ml/kg/h void x 1 22.00 PM 111/50 91 38

Case 2. DATE BP PR Hct FLUID NOTE mmHg /min % Day 2 06.00 AM 104/55 98 37 void x 1 08.00 AM 110/60 82 ??? rather good appetite 14.00 PM 100/60 76 36 Off IV fluid void x 2

Case 2. Day 3 DATE BP PR Hct FLUID NOTE mmHg / min % 08.00 AM 112/54 77 void x 3,good appetite confluent petechial rash with scattere white,small, round areas on both upper and lower extremitie 14.00 PM 121/68 60 discharge home