ชื่อโครงงาน ค่า R.O.ในน้ำ จัดทำโดย 1.ด.ช.กรณัฐ ประสงค์มณีรัตน์ ม.1/5 เลขที่ 2 2.ด.ช.กษิดิศ ลาภเลิศสุข ม.1/5 เลขที่ 3 3.ด.ช.กาญจน์ นพวิง ม.1/5 เลขที่ 5 4.ด.ญ.ชนมน สุขชู ม.1/5 เลขที่ 9 5.ด.ญ.ณัฐณิชา ตนักษรานนท์ ม.1/5 เลขที่ 15 6.ด.ญ.บวรลักษณ์ โชติวรรณพฤกษ์ ม.1/5 เลขที่ 32 7.ด.ญ.ศุภิสรา เดือนเพ็ญ ม.1/5 เลขที่ 48 เสนอ อ.สุมน คณานิตย์ โรงเรียนสตรีวิทยา ๒
แนวคิดที่ทำโครงงาน ปัจจุบันนี้เรามักพบว่ามีน้ำดื่มให้เลือกซื้อมากมายหลายยี่ห้อ แต่ปัญหาคือแล้วจะทราบหรือแน่ใจได้อย่างไรว่าน้ำที่เราดื่มมีคุณภาพเหมาะต่อการบริโภค วัตถุประสงค์ ในการทำโครงงาน ต้องการตรวจสอบคุณภาพน้ำดื่มว่าเหมาะสมต่อการบริโภคหรือไม่
ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.อุปกรณ์ -น้ำดื่มที่ต้องการทดลอง -ภาชนะใส่น้ำ -เครื่อง TDH (เครื่องทดสอบแบบธรรมดา) -เครื่องแยกน้ำด้วยไฟฟ้า 2.ขั้นตอนการทดลอง -ทดสอบด้วยเครื่อง TDH 1.นำน้ำที่ต้องการทดสอบเทลงในภาชนะที่เตรียมไว้ 2.ทดสอบคุณภาพน้ำในตัวอย่างน้ำที่ต้องการทดสอบโดยใช้เครื่อง TDH 3.จุ่มลงในตัวอย่างน้ำ 4.รอให้ค่าตัวเลขจากเครื่อง TDH คงที่แล้วบันทึกค่า 5.นำมาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน
-ทดสอบด้วยเครื่องแยกน้ำด้วยไฟฟ้า 1.นำน้ำที่ต้องการทดสอบเทลงในภาชนะที่เตรียมไว้ 2.ทดสอบคุณภาพน้ำในตัวอย่างน้ำที่ต้องการทดสอบโดยใช้เครื่องแยกน้ำด้วยไฟฟ้า โดยเปิดสวิตซ์เครื่องแล้วจุ่มลงในตัวอย่างน้ำที่ต้องการทดสอบ 3.รอให้สีของน้ำเปลี่ยนจนคงที่แล้วนำเครื่องออก 4.นำสีของน้ำที่เปลี่ยนมาวิเคราะห์
ผลที่ได้จากการทดสอบจากเครื่อง TDH น้ำตราสิงห์ มีค่า R.O. 365 ppm น้ำต้ม มีค่า R.O. 170 ppm แท้งค์น้ำดื่มโรงเรียน มีค่า R.O. 125 ppm น้ำตรามิเนเร่ มีค่า R.O. 125 ppm น้ำตราคูลลี่ เฟรส มีค่า R.O. 3 ppm น้ำตราเนสท์เล่ เพียวไลฟ์ มีค่า R.O. 365 ppm น้ำตราพิกุล มีค่า R.O. 20 ppm
สรุปผลการดำเนินงานจากเครื่อง TDH 1.น้ำดื่มที่ผ่านมาตรฐานองค์การอนามัยโลก ได้แก่ น้ำตราคูลลี่ เฟรส น้ำตราพิกุล 2.น้ำดื่มที่ผ่านมาตรฐานองค์การอาหารและยาของไทย ได้แก่ น้ำตรา-สิงห์ น้ำต้ม แท็งค์น้ำดื่มโรงเรียน น้ำตรามิเนเร่ น้ำตราคูลลี่- เฟรส น้ำตราเนสท์เล่-เพียวไลฟ์ น้ำตราพิกุล 3.น้ำดื่มที่ผ่านมาตรฐานตู้ทำน้ำดื่ม ได้แก่ น้ำตราคูลลี่-เฟรส น้ำตราพิกุล
กลุ่มของสิ่งเจือปนในน้ำ มาตรฐานค่าความปนเปื้อนในน้ำดื่มจากเครื่องแยกน้ำด้วยไฟฟ้า ตะกอนสี กลุ่มของสิ่งเจือปนในน้ำ ผลกระทบต่อร่างกาย สีเขียว คลอรีน คอปเปอร์ออกไซด์(ทองแดง) ไต,ระบบประสาท ทำให้เกิดมะเร็ง สีดำหรือเทา สารประกอบธาตุหนักของ ปรอท ตะกั่ว โลหะ กระดูกสันหลัง สีขาวขุ่น คัลเซียมออกไซด์ แมกนีเซียมออกไซด์ ซิ้งออกไซด์ อลูมิเนียมออกไซด์ อาโอนิค(สารหนู) แร่ใยหิน , หินปูน นิ่วในไต ตับ ระบบประสาท ทำให้เกิดมะเร็ง โรคเท้าดำ นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ สีน้ำเงิน อลูมิเนียมซัลเฟรต(สารส้ม) สารอินทรีย์ ฟอสฟอรัส ระบบประสาท ตับ ไต ประสาท สีน้ำตาล หรือสีส้มเหลือง เฟอรัสออกไซด์ หรือสนิมเหล็ก ทางเดินอาหาร,ปัสสาวะเป็นพิษ
ผลที่ได้จากการทดสอบจากเครื่องแยกน้ำด้วยไฟฟ้า น้ำตราสิงห์ เปลี่ยนเป็นสีเหลือง น้ำต้ม เปลี่ยนเป็นสีเหลืองน้ำตาล แท็งค์น้ำดื่มโรงเรียน เปลี่ยนเป็นสีเหลือง น้ำตรามิเนเร่ เปลี่ยนเป็นสีเขียว น้ำตราคูลลี่- เฟรส เปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อนๆ น้ำตราเนสท์เพียวไลฟ์ เปลี่ยนเป็นสีเขียว น้ำตราพิกุล เปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อน
สรุปผลการดำเนินงานจากเครื่องแยกน้ำด้วยไฟฟ้า สารที่เปลี่ยนสีเป็นสีเหลืองส้ม(น้ำตาล) ได้แก่ น้ำตราสิงห์ น้ำต้ม แท็งค์น้ำดื่มโรงเรียน น้ำตราคูลลี่- เฟรส น้ำตราพิกุล (ทำให้ทางเดินปัสสาวะเป็นพิษ) สารที่เปลี่ยนสีเป็นสีเขียว ได้แก่ น้ำตรามิเนเร่ น้ำตราเนสท์เพียวไลฟ์ (ทำให้มีปัญหาเกี่ยวกับไต ระบบประสาท ทำให้เกิดมะเร็ง)
ประโยชน์ที่ได้รับ การทดลองนี้เป็นวิธีทดสอบคุณภาพทางเคมีวิธีหนึ่ง ที่สามารถใช้ผลการทดลองเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการเลือกตัดสินใจซื้อน้ำดื่มบริโภคที่มีคุณภาพ ปราศจากโรค เพราะว่าน้ำบางชนิดเมื่อมองแล้วไม่มีสิ่งใดแปลกปลอม แต่เมื่อได้ทำการทดลองแล้วจะพบว่าน้ำทุกชนิดก็มีเชื่อโรคบางชนิอยู่เล็กน้อยโดยที่เราไม่รู้ตัว
ขอจบการนำเสนอผลงานเพียงเท่านี้ ขอบคุณค่ะ