จริยธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม Ethics & Social Responsibility บทที่ 3 จริยธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม Ethics & Social Responsibility STRATEGIC MANAGEMENT & BUSINESS POLICY 11TH EDITION THOMAS L. WHEELEN J. DAVID HUNGER Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
Corporate Governance ถ้าบรรษัทขาดจรรยาบรรณและความรับผิดชอบต่อสังคมจะมีผลกระทบต่อองค์กรและสังคมในเชิงลบหรือไม่? Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
บรรษัทต้องมีจรรยาบรรณและมีความรับผิดชอบต่อสังคมต่อใครบ้าง? Corporate Governance บรรษัทต้องมีจรรยาบรรณและมีความรับผิดชอบต่อสังคมต่อใครบ้าง? ผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) ทั้งหมด ผู้มีส่วนได้เสีย คือใคร? เช่น ผู้ถือหุ้น เจ้าของ พนักงาน ลูกค้า ผู้ขายวัตถุดิบ ชุมชน … Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
กิจกรรมหลักขององค์กร: Corporate Governance จริยธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคมจะต้องถูกสอดแทรกอยู่ในทุกกิจกรรมหลักขององค์กร กิจกรรมหลักขององค์กร: การผลิต (Production) - พนักงาน - ลูกค้า การตลาด (Marketing) - 4 P’s การบริการ (Services) - การบริการต่างๆ โครงข่ายการขนส่ง (Logistics) Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
Ethics & Social Responsibility Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
(Ethics & social responsibility) Corporate Governance (Ethics & social responsibility) 1. สำรวจสภาพแวดล้อม (Environmental scanning) 2. การกำหนดยุทธศาสตร์ (Strategy formulation) 3. การนำยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ (Strategy implementation) 4. การประเมินและการควบคุม (Evaluation and control) Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
บรรษัทภิบาล (Corporate governance) บรรษัทต้องมีความรับผิดชอบที่กว้างขึ้น หมายความว่า บรรษัทต้องมีความรับผิดชอบต่อสังคมไม่ใช่คำนึงถึงแต่ผลกำไรเท่านั้น Broader responsibility -- Private corporations have responsibility to society that extend beyond making a profit Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
มุมมองต่อความรับผิดชอบต่อสังคม มุมองของ Milton Friedman Social Responsibility มุมมองต่อความรับผิดชอบต่อสังคม มุมองของ Milton Friedman ธุรกิจมีความรับผิดชอบต่อสังคมแค่เพียงอย่างเดียวคือ การใช้ทรัพยากรขององค์กรในการทำกิจกรรมเพื่อแสวงหากำไร แต่ต้องไม่ผิดกฎกติกาของสังคม หรือพูดอีกนัยหนึ่งคือแข่งขันในระบบธุรที่กิจเปิดและเสรีโดยไม่หลอกลวงและช่อโกงใคร There is one and only one social responsibility of business—to use its resources and engage in activities designed to increase its profits so long as it stays within the rules of the game, which is to say, engages in open and free competition without deception or fraud. Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
- ด้านเศรษฐกิจ (Economic) Corporate Governance มุมมองของ Carroll เสนอความรับผิดชอบ 4 ด้าน: - ด้านเศรษฐกิจ (Economic) - ด้านกฎหมาย (Legal) - ด้านจริยธรรม (Ethical) - ด้านดุลพินิจ (Discretionary) Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
Carroll’s 4 Responsibilities Must do = ต้องทำ Have to do = ต้องทำ Should do = ควรทำ Might do = อาจทำ Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) Corporate Stakeholders ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) มีส่วนทำให้วัตถุประสงค์ขององค์กรสำเร็จ Affect or are affected by the achievement of the corporation’s objectives Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Analysis) Corporate Stakeholders การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Analysis) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก (Primary stakeholder) มีอำนาจต่อรองเพียงพอที่จะมีผลต่อการปฏิบัติการของ องค์กร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรอง (Secondary stakeholder) สามารถถูกกระทบจากการปฏิบัติการขององค์กรได้ ปัจจัยนำเข้าของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Input) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นผู้กำหนดปัจจัยนำเข้า (เช่น เงินทุน วิธีการจัดการ) Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
จริยธรรมธุรกิจ “business ethics” Ethical Behavior จริยธรรมธุรกิจ “business ethics” - “จริยธรรม” กับ “ธุรกิจ” เป็นเรื่องที่ เป็นไปด้วยกันไม่ได้ (เป็นอีกมุมมองหนึ่ง) ตัวอย่าง บริษัทอิเลคทรอนิคส์ Argument that there is no such thing … it is an oxymoron Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
Ethical Decision Making การปฏิบัติของบรรษัทที่มีประเด็นของจริยธรรมเข้ามาเกี่ยวข้อง (Corporate practices) การรายงานผลกำไร (มีผลต่อการเสียภาษีหรือไม่?) มีการบันทึกค่าใช้จ่ายอย่างผิดหมวดหมู่ (มีผลต่อการ เสียภาษีหรือไม่?) การใช้ทรัพยากรของบริษัทเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ ต่อตนเอง (อาจเป็นผู้บริหารและพนักงาน) Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
ผลการสำรวจ (Recent Survey Results) Ethical Decision Making ผลการสำรวจ (Recent Survey Results) 70% ไม่ไว้ใจผู้บริหาร (เช่น ผู้ถือหุ้น) กรณีของ Enron กรณีของ WorldCom Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
คำถามที่น่าคิด (Provocative Question) Reasons for Unethical Behavior คำถามที่น่าคิด (Provocative Question) - ทำไมนักธุรกิจจึงถูกมองว่าเป็นบุคคลที่กระทำ ผิดจริยธรรมอยู่ตลอดเวลา? Why are businesspeople perceived to be acting unethically? Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
เหตุผลที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมที่ขาดจริยธรรม ไม่ทราบว่าอะไรควรหรือไม่ควร Reasons for Unethical Behavior เหตุผลที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมที่ขาดจริยธรรม ไม่ทราบว่าอะไรควรหรือไม่ควร ถูกในวัฒนธรรมหนึ่งแต่อาจไม่ถูกอีกในวัฒนธรรม หนึ่ง ระบบขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ (ไม่ใช่กฎระเบียบ) การให้คุณค่าที่ต่างกันระหว่างผู้บริหารและผู้ถือหุ้น เช่น การมองเรื่องความเสี่ยง อาจมองต่างกัน Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
Allport-Vernon-Lindzey ได้ทำการศึกษาเรื่อง Reasons for Unethical Behavior Allport-Vernon-Lindzey ได้ทำการศึกษาเรื่อง การศึกษาค่านิยม (Study of Values) ของผู้บริหารชาวอเมริกัน เรื่องความสวยงาม (Aesthetic) (ต่ำ) เศรษฐกิจ (Economic) (สูง) การเมือง (Political) (สูง) ศาสนา (Religious) (ต่ำ) สังคม (Social) (ต่ำ) ทฤษฎี (Theoretical) (ต่ำ) Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
เป็นผลการปฏิบัติงานที่องค์กรต้องการ กฎระเบียบที่กว้าง Reasons for Unethical Behavior เหตุผลที่ทำให้กฎระเบียบคดงอ (ไม่ทำตามกฎระเบียบ) (Most common reasons for bending rules) เป็นผลการปฏิบัติงานที่องค์กรต้องการ กฎระเบียบที่กว้าง มีแรงกดดันจากผู้อื่น – คนอื่นก็ทำ Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
Moral Relativism คุณธรรมเป็นสิ่งที่ขึ้นอยู่กับบุคคล สังคม และมาตรฐานของวัฒนธรรม ไม่มีวิธีการใดที่จะสามารถตัดสินได้ว่าการกระทำ (หรือการตัดสินใจ) แบบหนึ่งดีกว่าอีกแบบหนึ่ง Morality is relative to some personal, social, or cultural standard and there is no method for deciding whether one decision is better than another. Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
Kolberg ได้เสนอระดับการพัฒนาการเรื่องคุณธรรมไว้ดังนี้ Kohlberg’s Levels of Moral Development Kolberg ได้เสนอระดับการพัฒนาการเรื่องคุณธรรมไว้ดังนี้ ระดับที่ 1 Preconventional level เป็นการให้ความสนใจกับตัวเอง (เช่น ทำเพื่อหลีกเหลี่ ยงการลงโทษ) Characterized by a concern for self Personal interest Avoidance of punishment Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
ระดับที่ 2 Conventional level Kohlberg’s Levels of Moral Development ระดับที่ 2 Conventional level เป็นการคำนึงถึงค่านิยมของสังคม (มากกว่าประโยชน์ ส่วนตน) Characterized consideration of society’s values external code of conduct Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
ระดับที่ 3 Principled level Kohlberg’s Levels of Moral Development ระดับที่ 3 Principled level เป็นการคำนึงถึงหลักการที่เป็นสากล (และมาจาก จิตใจของคน) Characterized by adherence to internal moral code Universal values or principles Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
ถ้อยแถลงจรรยาบรรณ (Codes of Ethics) Encouraging Ethical Behavior ถ้อยแถลงจรรยาบรรณ (Codes of Ethics) - กำหนดว่าองค์กรมีความคาดหวังอย่างไรจาก พนักงานในการประพฤติตนในการทำงาน Specifies how an organization expects its employees to behave on the job. Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
หลักสนับสนุนพฤติกรรมเชิงจริยธรรม (Guidelines for Ethical Behavior) Encouraging Ethical Behavior หลักสนับสนุนพฤติกรรมเชิงจริยธรรม (Guidelines for Ethical Behavior) จริยธรรม (Ethics) คุณธรรม (Morality) กฎหมาย (Law) Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
วิธีการที่ทำให้เกิดพฤติกรรมเชิงจริยธรรม Encouraging Ethical Behavior วิธีการที่ทำให้เกิดพฤติกรรมเชิงจริยธรรม (Approaches to Ethical Behavior) การมองประโยชน์เป็นที่ตั้ง (Utilitarian) หมายถึง การคำนึงถึงผลภายหลัง (เช่น ผู้มีส่วนได้เสียจะพึง พอใจหรือไม่) การมองสิทธิส่วนบุคคลเป็นที่ตั้ง (Individual Rights) หมายถึง การคำนึงถึงสิทธิส่วนบุคคล (ว่าเราได้ละเมิดสิทธิ ส่วนบุคคลหรือไม่) การมองความยุติธรรมเป็นที่ตั้ง (Justice) หมายถึงการกระจายสิ่งต่างให้เท่าเทียมกัน (รวมถึงการมอง ว่าการกระทำเป็นการละเมิดความหลักความยุติธรรมหรือไม่) Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
Encouraging Ethical Behavior นักปรัชญา Immanuel Kant ได้เสนอหลักคิดในการที่จะนำไปสู่พฤติกรรมเชิงจริยธรรมเรียกว่า Categorical imperative (2 วิธีการ) วิธีการที่ 1 “golden rule” - กระทำกับคนอื่นเหมือนกับทีเราอยากให้เข้าทำกับเรา วิธีการที่ 2 Means – Ends Means = วิถี Ends = ปลาย (ผล) - ไม่ควรใช้ผู้อื่นเป็นวิถีที่จะนำสู่ประโยชน์ส่วนตน ตัวอย่าง เรื่องพนักงานประกันสังคมที่ทำผิดวินัย อย่างร้ายแรง Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006
การสำรวจบริษัท 192 บริษัทในสหรัฐอเมริกา Strategy Bits การสำรวจบริษัท 192 บริษัทในสหรัฐอเมริกา (192 U.S. companies surveyed --) 92% ตรวจตาการใช้จดหมายอิเลคทรอนิคส์และ อินเตอร์เนท 26% ตรวจตาการกิจกรรมอิเลคทรอนิคส์ของ พนักงาน ไม่มีบริษัทใดใช้กลไกสำหรับปกป้องความเป็นส่วนตัว ของพนักงาน Prentice Hall, Inc. © 2008 Prentice Hall 2006