Electronic Mail (E-mail) โดย ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา (พฤศจิกายน 2548)
E-mail เป็นการรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่แพร่หลายบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โปรแกรมที่ใช้รับส่ง e-mail จะรับส่งผ่านเครื่องที่ให้บริการรับส่งเมลล์ ซึ่งเรียกว่า “Mail Server”
ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับ E-mail Email เป็นการติดต่อสื่อสารแบบ Asynchronous ข้อมูลในจดหมายจะถูกส่งไปยัง Server ข้อมูลในจดหมายจะถูกเก็บไว้จนกระทั่งถูกเรียกใช้ ข้อมูลในจดหมายอาจจะใช้เวลาเล็กน้อยก่อนที่จะถูกส่งถึง
รู้จักกับ E-mail Address Email จะถูกส่งไปยัง email address ที่กำหนด รูปแบบทั่วไปของ email address user@domain_name ตัวอย่างเช่น twatchai@buu.ac.th ในบางครั้งอาจจะอยู่ในรูปแบบ user@computer_name.domain_name เช่น twatchai@bucc4.buu.ac.th
ข้อดีของ E-mail เป็นการติดต่อสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ สามารถกระจายข้อมูลในจดหมายไปยังผู้อ่านหลายๆ คนได้ ข้อมูลในจดหมายอาจจะถูกส่งต่อไปยังผู้อื่นอีกได้ง่าย สามารถส่งข้อมูลในจดหมายได้รวดเร็วมาก แม้ว่าจะอยู่ไกลออกไป สามารถแนบ files ไปกับข้อมูลในจดหมายได้ ไม่ต้องติดแสตมป์ ใส่ซองหรือไปที่ทำการไปรษณีย์
ข้อเสียของ E-mail มีจดหมายที่ต้องรับส่งมากขึ้น ได้รับจดหมายที่ไม่พึงประสงค์มากขึ้น Junk mail หมายถึง E-mail ที่ไร้สาระ
คุณลักษณะของ E-mail พื้นฐาน เรียบเรียงข้อมูลในจดหมาย (Compose) ตอบข้อมูลในจดหมาย (Reply) ส่งต่อข้อมูลในจดหมาย (Forward) แนบแฟ้มข้อมูลไปกับจดหมาย (Attachment) สมุดบันทึกที่อยู่ (Address book) รายการของกลุ่มรายชื่อ (Mailing list)
โปรแกรมรับส่ง E-mail ระบบปฏิบัติการ unix mail, mailx และ pine ระบบปฏิบัติการ windows Eudora, Microsoft Exchange, Microsoft Internet Mail และ Microsoft Outlook
ประเภทของการใช้บริการรับส่ง E-mail ใช้บริการจากเครื่องที่ตนเองเป็นสมาชิก ใช้บริการจากโปรแกรมประเภท POP/IMAP-based ใช้บริการจาก Web-based Email ใช้บริการจาก Free Email ใช้บริการจากผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP)
Free e-mail
Free -email คืออีเมล์ที่ผู้ให้บริการ mailbox ฟรี www.yahoo.com www.icqmail.com www.thaimail.com www.chaiyo.com www.bangkokcity.com www.narak.com
มารยาทในการใช้ email อย่าส่งข้อมูลที่เป็นความลับใดๆ ไปกับ email อย่าส่งข้อความที่หยาบคาย ก้าวร้าว หรือน่าเบื่อหน่าย ให้ระมัดระวังอย่าส่งข้อความที่แสดงอารมณ์มากเกินไป ให้ใช้อักษรทั้งตัวเล็กและตัวใหญ่ผสมกันไป ห้ามใช้ตัวหนาหรือขีดเส้นใต้ ลงชื่อท้ายข้อความในจดหมายทุกครั้ง อ่านข้อมูลในจดหมายโดยละเอียดก่อนส่ง
การใช้เครื่องหมายแสดงอารมณ์ :-) smile :) also a smile :-D laughing :-} grin :-] smirk :-( frown ;-) wink 8-) wide-eyed :-X close mouthed :-o Oh, no!
การใช้ Electronic Shorthand BTW by the way FYI for your information IMHO in my humble (or honest) opinion WRT with respect to ASAP as soon as possible
นโยบายเกี่ยวกับ Email ความเป็นส่วนตัว (Privacy) และความปลอดภัย (Security) ให้เหมาะสมกับสภาพของหน่วยงาน
การยืนยันความเป็นบุคคล จดหมายธรรมดา ใช้ลายเซ็นต์ หรือลายนิ้วมือ ลายเซ็นต์ เจ้าของลายเซ็นต์เท่านั้นที่สามารถสร้างลายเซ็นต์ได้ มีวิธีการในการระบุเจ้าของลายเซ็นต์ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ใช้ลายเซ็นต์อิเล็กทรอนิกส์
ลายเซ็นต์อิเล็กทรอนิกส์ ข้อความในจดหมาย ใช้ Message Digest (MD) โดยส่งข้อความเข้าไปใน Hashing Function และได้ Output เป็น MD สร้างลายเซ็นต์ เข้ารหัส MD ด้วยกุญแจส่วนตัว (Private Key) ผู้ส่งมีหน้าที่รักษาความลับของกุญแจส่วนตัวของตนเอง ส่ง MD ไปพร้อมกับลายเซ็นต์
ลายเซ็นต์อิเล็กทรอนิกส์ ผู้รับจดหมายที่มีลายเซ็นต์อิเล็กทรอนิกส์ แยกข้อมูลข่าวสาร ออกจากลายเซ็นต์ ใส่ข้อความเข้าไปใน Hashing Function เพื่อสร้าง MD ถอดรหัสด้วยกุญแจสาธารณะ (Public Key) ของผู้ส่ง เพื่อให้ได้ MD หาก MD จากทั้ง 2 ส่วนมีค่าเท่ากัน แสดงว่าลายเซ็นต์ที่ได้รับมาเป็นของผู้ส่งจริง
ทฤษฎี E-mail Mail sender Mail User Agent SMTP Mail Transfer Agent Protocol Flow Email Flow Mail User Agent SMTP Mail Transfer Agent Email Server SMTP Mail Transfer Agent POP IMAP Local E-Mail Server Remote E-Mail Server Mail User Agent Mail Recipient
SMTP (Simple Mail Transfer Protocol) กิจกรรม ก. ส่ง E-mail จาก E-mail Client ของผู้ส่ง ไปยัง E-mail Server ของผู้ส่ง ข. ส่ง E-mail ระหว่าง E-mail Servers ต่างๆ ใช้ TCP-Port 25 ในการทำงาน กำหนดรายละเอียดของมาตรฐานไว้ที่ RFC 821
Mail Message Format องค์ประกอบโดยสังเขป ก. ส่วนหัว หรือ ส่วนซอง เป็นส่วนของข้อมูลที่ต้องการใช้ในการจัดส่ง ข. ส่วนตัว หรือ ส่วนของเนื้อหา เป็นส่วนของข้อมูลที่ต้องการส่ง กำหนดรายละเอียดของมาตรฐานไว้ที่ RFC 822
MIME (Multipurpose Internet Mail Extension) เป็นการระบุชนิดและลักษณะของข้อมูล ที่จะทำการส่งไปกับส่วนเนื้อหาของ message องค์ประกอบโดยสังเขป ก. Content-Transfer-Encoding ระบุวิธีการเข้ารหัส ข. Content-Type ระบุชนิดของข้อมูล (Type และ Subtype) กำหนดรายละเอียดของมาตรฐานไว้ที่ RFC 1341
POP (Post Office Protocol) เป็น protocol ปัจจุบันใช้ version 3 เรียกว่า POP3 กิจกรรม ก. แสดงตัวตน โดยระบุ Username และ Password ข. ติดต่อจาก E-mail Client เพื่อขอ message จาก E-mail Server ใช้ TCP-Port 110 ในการทำงาน กำหนดรายละเอียดของมาตรฐานไว้ที่ RFC 1725
IMAP (Internet Message Access Protocol) เป็น protocol ปัจจุบันใช้ version 4 เรียกว่า IMAP4 กิจกรรม ก. แสดงตัวตน โดยระบุ Username และ Password ข. วิเคราะห์และเลือก message ที่ต้องการจาก E-mail Server ค. สามารถเข้ารหัส message ได้ ใช้ TCP-Port 143 ในการทำงาน กำหนดรายละเอียดของมาตรฐานไว้ที่ RFC 1730
โปรแกรม E-mail Server ระบบปฏิบัติการ unix Sendmail ระบบปฏิบัติการ windows Microsoft Exchange Server
คำถาม ?