Butterfly in Sakaerat forest
Content การกำเนิดผีเสื้อ รูปร่างและกายวิภาค วิธีการศึกษาและทดลอง อนุกรมวิธาน เอกสารอ้างอิง
การกำเนิดผีเสื้อ
รูปร่างและกายวิภาคของผีเสื้อ
วงจรชีวิตของผีเสื้อ
วัสดุและอุปกรณ์การศึกษา สวิงจับแมลง กระดาษสามเหลี่ยม ขวดโหลน๊อคแมลง กระดาษทิชชู สำลี เข็มสต๊าฟผีเสื้อ น้ำยาทาเล็บ กรงดักผีเสื้อ เหยื่อล่อผีเสื้อ ลูกเหม็น กล้องถ่ายรูป กล่องไม้เก็บตัวอย่างแมลง
วิธีการทดลอง 1. วางกรงล่อผีเสื้อโดยใช้เหยื่อล่อผีเสื้อ ภาคสนาม 1. วางกรงล่อผีเสื้อโดยใช้เหยื่อล่อผีเสื้อ 2. ใช้สวิงจับผีเสื้อ 3. ถ่ายรูปผีเสื้อ
วิธีการทดลอง ห้องปฎิบัติการ 1. นำผีเสื้อที่จับได้จากภาคสนามมาทำการสต๊าฟ 2. นำผีเสื้อที่สต๊าฟไปอบในตู้อบอุณหภูมิประมาณ 40 องศาเซลเซียส ประมาณ 7 วัน 3. นำไปเก็บที่กล่องเก็บตัวอย่างแมลงโดยบรรจุลูกเหม็นลงไปในกล่องด้วยเพื่อป้องกันแมลง
อนุกรมวิธานของผีเสื้อ อาณาจักร (Kingdom)--------> แอนนิมอล (Animal) ไฟลัม (Phylum) --------> อาร์โทรโพดา (Arthopoda) ชั้น (Class) --------> อินเซคตา (Insecta) อันดับ (Order) ------> เลพิดอพเทอร่า (Lepidoptera)
หลักการในการจำแนกชนิดของผีเสื้อ วิธีการที่ง่ายที่สุดคือ ดูสีสันและลวดลายที่แตกต่างกันไปแต่ละชนิด สังเกตุจาก ตัวเต็มวัย ของผีเสื้อเองแล้ว ลักษณะของตัวหนอน และดักแด้ ของผีเสื้อแต่ละชนิด
การจำแนกผีเสื้อกลางวัน 1.วงศ์ผีเสื้อหางติ่ง (Family Papilionidae)
การจำแนกผีเสื้อกลางวัน 2. วงศ์ผีเสื้อหนอนกะหล่ำ (Family Pieridae)
การจำแนกผีเสื้อกลางวัน 3. วงศ์ผีเสื้อขาหน้าพู่ (Family Nymphalidae)
การจำแนกผีเสื้อกลางวัน 4. วงศ์ผีเสื้อมรกต, สีน้ำเงิน (Family Lycaenidae)
การจำแนกผีเสื้อกลางวัน 5. วงศ์ผีเสื้อบินเร็ว (Family Hesperiidae)
ประโยชน์ของผีเสื้อ ผีเสื้อจัดว่าเป็นแมลงที่มีความสำคัญต่อระบบนิเวศอีกชนิดหนึ่ง โดยในระยะที่เป็นตัวหนอนจะกัดกินใบไม้ในป่า มิให้มีมาก หรือหนาแน่นจนเกินไป ช่วยให้แสงแดดสอดส่องลงถึงพื้นด้านล่าง ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ อีกมาก ในขณะเดียวกัน ก็เป็นอาหาร ของนกชนิดต่างๆ รวมทั้งสัตว์ชนิดอื่นๆ
เกรียงไกร สุวรรณภักดิ์. คู่มือผีเสื้อ. กรุงเทพฯ :สารคดี, 2546. เอกสารอ้างอิง เกรียงไกร สุวรรณภักดิ์. คู่มือผีเสื้อ. กรุงเทพฯ :สารคดี, 2546. จารุจินต์ นภีตภัฎ และ เกรียงไกร. คู่มือดูผีเสื้อในประเทไทย. กรุงเทพฯ : วนา, 2546. ยุพา หาญบุญทรง. หลักอนุกรมวิธานแมลง. ภาควิชากีฏวิทยา. คณะเกษตรศาสตร์. มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2546
Thank you