งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พฤติกรรมการวางไข่ของแมลงวันผลไม้ :Bactrocera dorsalis

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พฤติกรรมการวางไข่ของแมลงวันผลไม้ :Bactrocera dorsalis"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พฤติกรรมการวางไข่ของแมลงวันผลไม้ :Bactrocera dorsalis
Oviposition Behavior of the Oriental Fruit Fly:Bactrocera dorsalis

2 แมลงวันผลไม้ : Bactrocera dorsalis
บทนำ แมลงวันผลไม้ : Bactrocera dorsalis พบมาก และสามารถเข้าทำลายพืชได้หลายชนิด มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ ความเสียหายโดยตรงเกิดจากแมลงเพศเมีย การควบคุมให้ได้ผลต้องใช้วิธีการแบบบูรณาการ

3 ความสำคัญของแมลงวันผลไม้ B. dorsalis
อนุกรมวิธาน Fammily Tephritidae สัณฐานวิทยาภายนอก รูปที่ 1 แสดงลักษณะแมลงวันผลไม้ B. dorsalis เพศเมีย ที่มา : Wilson, S. (2004)

4 ความสำคัญของแมลงวันผลไม้ B. dorsalis (ต่อ)
การแพร่กระจาย ในประเทศไทย พบแพร่กระจายโดยเฉพาะภาคกลาง และภาคเหนือ ต่างประเทศพบได้ในเขตอบอุ่นและเขตร้อน ภาพการแพร่กระจายของ B. dorsalis ที่มา : กรมวิชาการเกษตร (2544)

5 ความสำคัญของแมลงวันผลไม้ B. dorsalis (ต่อ)
ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่กระจาย การกระจายตัวของพืชอาหาร ของแมลงในท้องถิ่น ปัจจัยด้านพืชอาหาร อุณหภูมิ ปริมาณน้ำฝน ลม ความชื้นสัมพัทธ์ ปัจจัยทางกายภาพ

6 ความสำคัญของแมลงวันผลไม้ B. dorsalis (ต่อ)
ชีววิทยา และการเข้าทำลาย การตอบสนองต่อพืชอาหาร เช้า - เที่ยง กินอาหาร เช้า - เย็น วางไข่

7 ความสำคัญของแมลงวันผลไม้ B. dorsalis (ต่อ)
วงจรชีวิต (lifecycle) ระยะไข่ 1-2 วัน ระยะตัวเต็มวัย 1-3 เดือน ระยะหนอน 7-12 วัน ระยะดักแด้ วัน ภาพแสดงวงจรชีวิตของแมลงวันผลไม้ B. dorsalis ที่มา : นิรนาม (มปป.)

8 พฤติกรรมการวางไข่ของแมลงวันผลไม้ B. dorsalis
กระบวนการตอบสนองต่อสิ่งเร้า orientation egg laying ภาพ ก และข แสดงพฤติกรรมสำรวจพืชอาหาร และวางไข่ของแมลงวันผลไม้เพศเมียตามลำดับ ที่มา : มนตรี (2543)

9 พฤติกรรมการวางไข่ของแมลงวันผลไม้ B. dorsalis (ต่อ)
ขณะวางไข่ใช้เวลา 1 – 2 นาที วางไข่ในช่วงเวลา ~ น.

10 ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการวางไข่
การมองเห็น ระยะไกล ระยะใกล้ สิ่งเร้าทางตา สิ่งเร้าทางกลิ่น

11 ระยะไกล สิ่งเร้าทางตา สี รูปร่าง ขนาด
ตำแหน่งของสิ่งเร้าทางตา (พืชอาหาร) ที่อยู่ไกล พฤติกรรมการเข้าหาพืชอาหารของแมลงวันผลไม้

12 ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( (

13 รัตนา (2543) ศึกษาเรื่อง สี และรูปร่างของผลไม้ที่มีผลต่อการดึงดูดแมลงวันผลไม้ B. dorsalis ในกรงสนามขนาด 3 ลบ.ม. ทดลองกับผลไม้เทียมได้แก่ แอปเปิลแดง แอปเปิลเหลือง และฝรั่ง จำนวน แมลง ค่าเฉลี่ยจำนวน แมลงที่ดึงดูด ทด ลอง ดึง ดูด แอปเปิล เหลือง ฝรั่ง แดง 90 25 4.0a 4.3a 31 7.0a 3.3b 43 9.7a 4.7b

14 ทรงกลม/ทรงสี่เหลี่ยม = สีเหลือง
Cornelius และคณะ (1999) ศึกษาผลการตอบสนองต่อสิ่งเร้าทางตาที่มีต่อแมลงวันผลไม้ B. dorsalis เพศเมีย โดยการใช้กับดักกาวขนาด 5-11 ซม. ลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ ทรงกลม/ทรงสี่เหลี่ยม = สีเหลือง ทรงกลม/ทรงสี่เหลี่ยม = สีแดง ทรงกลม/ทรงสี่เหลี่ยม = สีเขียว

15 < < B. dorsalis

16 ศึกษาการตอบสนองของแมลงวันผลไม้ B. oleae ต่อกับดักทรงกลมสีต่าง ๆ คือ
Katsoyannos และKouloussis (2004) ศึกษาการตอบสนองของแมลงวันผลไม้ B. oleae ต่อกับดักทรงกลมสีต่าง ๆ คือ ทรงกลมสีเหลือง ทรงกลมสีแดง ทรงกลมสีส้ม

17 B. oleae

18 ภาพแสดงลักษณะกับดักชนิด Ladd traps ที่มา : Anonymous (nd)

19 ระยะใกล้ ระดับความสุก สิ่งเร้าทางกลิ่น ชนิดพืชอาหาร
ตำแหน่งของสิ่งเร้าทางกลิ่น (พืชอาหาร) ที่อยู่ใกล้ พฤติกรรม orientation ต่อพืชอาหารของแมลงวันผลไม้

20 Cornelius และคณะ (2000) ผลการตอบสนองของแมลงวันผลไม้ B. dorsalis เพศเมียต่อกลิ่นของผลไม้ที่แตกต่างกัน โดยใช้กลิ่นฝรั่ง มะละกอ ส้ม และมะม่วง ห้องปฏิบัติการ แปลงทดลอง

21 กลิ่นของฝรั่งดึงดูดแมลงได้ดีกว่ากลิ่นของมะละกอ แต่ดึงดูดได้ดีพอกันกับส้ม และมะม่วง
ห้องปฏิบัติการ แมลงตอบสนองต่อกลิ่นของมะม่วงด้วยกับดัก McPhail trap มากกว่าการใช้ Ladd traps แต่ตอบสนองได้ดีพอกันต่อกับดัก McPhail trap ที่บรรจุด้วยกลิ่นของโปรตีน แปลงทดลอง

22 ภาพแสดงลักษณะกับดักแบบ McPhail trap
ที่มา :

23 รัตนา (2543) แมลงวันผลไม้ B. dorsalis เพศเมียสามารถตอบสนองต่อกลิ่นได้ดีเมื่ออยู่ในระยะใกล้ (ห่างกัน 30 ซม.) จำนวน 2 ผลในกรงขนาด 1 ลบ.ม.โดยหลังจากทดลองขัดขวางสิ่งเร้าทางตาด้วยการห่อพลาสติกใส ซึ่งแมลงสามารถเห็นผลไม้เป็นปกติเปรียบเทียบกับผลไม้ที่ไม่ห่อ

24 ค่าเฉลี่ยจำนวนแมลงที่ตอบสนอง/ซ้ำ* ไม่ห่อพลาสติก ห่อพลาสติก
ตาราง แสดงการตอบสนองของแมลงวันผลไม้ B. dorsalis ต่อผลไม้ที่ห่อ/ไม่ห่อพลาสติก ชนิดแมลง จำนวนแมลงทดลอง ค่าเฉลี่ยจำนวนแมลงที่ตอบสนอง/ซ้ำ* ไม่ห่อพลาสติก ห่อพลาสติก แมลงวันผลไม้ B. dorsalis 200 6.9a 2.5b

25 ปัจจัยอื่นที่มีผลต่อพฤติกรรมการวางไข่ของแมลง
ประสบการณ์การวางไข่ แมลงที่คุ้นเคยกับผลไม้ชนิดใดย่อมวางไข่ในผลไม้ที่คุ้นเคยมากกว่าผลไม้ชนิดอื่น ก่อนที่แมลงจะวางไข่ในครั้งแรกแมลงจะค้นหาพืชอาหารที่เหมาะสมต่อการวางไข่ โดยอาศัยประสบการณ์จากการมองเห็น และการได้กลิ่น ที่ช่วยส่งเสริมให้แมลงสามารถค้นหาพืชอาหารที่เหมาะสมต่อการวางไข่ได้ง่ายขึ้น

26 ปัจจัยอื่นที่มีผลต่อพฤติกรรมการวางไข่ของแมลง(ต่อ)
การยับยั้งการวางไข่ การวางไข่ซ้ำ ความจำกัดของพืชอาหาร การยับยั้งการวางไข่ แมลงมีการปล่อยสาร หรือกลิ่น pheromone marking ใช้อวัยวะวางไข่ลากไปตามผิวของผลไม้ในบริเวณใกล้เคียง

27 หลีกเลี่ยงการวางไข่ในบริเวณที่เคยมีการวางไข่แล้ว
พฤติกรรมการวางไข่ซ้ำในแผลจะลดลง 70, 98 และ 100% ถ้าไข่ฟัก และเจริญเป็นตัวหนอนวัยที่1, 2 และ 3 ตามลำดับ

28 การวางไข่ซ้ำ แมลงวันผลไม้มีการผลิตไข่เป็นจำนวนมาก แผลที่เคยถูกวางไข่มีลักษณะอ่อนนิ่มดังนั้นจึงง่าย และใช้เวลาน้อยต่อการใช้อวัยวะวางไข่แทงลงไปเพื่อวางไข่ พบมากในแมลงวันผลไม้เพศเมียที่มีอายุมาก บริเวณของผลไม้ที่เป็นแผลมาแล้วจะมีน้ำผลไม้ซึมออกมา ซึ่งหลังจากที่แมลงใช้ปากซับดูดก่อนเริ่มวางไข่ จะรับสารประกอบที่มีในผลไม้เช่น glucose, fructose, sodium chloride และ calcium chloride ซึ่งอาจกระตุ้นการวางไข่

29 สรุป ความรู้จากการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการวางไข่ของแมลงวันผลไม้ ตั้งแต่กระบวนการค้นหา การตรวจสอบ การยอมรับพืชอาหาร จนกระทั่งแมลงวันผลไม้สามารถวางไข่บนพืชอาหารที่เหมาะสมได้เป็นผลสำเร็จ สามารถนำไปประยุกต์ในการประดิษฐ์หรือปรับปรุงการสำรวจ และการกำจัดแมลงชนิดนี้ได้

30 นางสาววนิดา เพ็ชร์ลมุล
โดย นางสาววนิดา เพ็ชร์ลมุล อาจารย์ที่ปรึกษาสัมมนา รศ.ดร.สุรไกร เพิ่มคำ ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โทร


ดาวน์โหลด ppt พฤติกรรมการวางไข่ของแมลงวันผลไม้ :Bactrocera dorsalis

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google