การวิเคราะห์และวางแผนอัตรากำลัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
Advertisements

การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
จิบน้ำชา สายสนับสนุน 22 มีนาคม 2554.
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
แนวทางการกำหนดกรอบอัตรากำลัง 4 ปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
การบัญชีสำหรับกิจการ
การจัดทำกรอบอัตรากำลัง ประจำปีงบประมาณ
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
Graduate School Khon Kaen University
การจัดทำรายงานประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
ตัวอย่างการเขียน ในบทที่ 5.
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
กฎ ก.พ. เรื่อง การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (มาตรา 46)
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
การชี้แจงบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38ค.(2) เรื่อง กรอบอัตรากำลัง
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
ชี้แจงการประเมินผลการปฏิบัติงาน
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ฯ
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
แนวปฏิบัติ การขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้น ของบุคลากรสายปฏิบัติการ
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ชื่อหน่วยงาน ฝ่าย/งาน ก.
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
สป. สธ. ซ้อมความเข้าใจ การจ้างลูกจ้างชั่วคราวเงินนอกงบประมาณ สธ 0201
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
ข อง โดย … นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและ ยุทธศาสตร์ 15 มีนาคม 2549.
แนวทางการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
การถ่ายโอนภารกิจด้านน้ำบาดาล ให้แก่ อปท.
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทิศทางการปฏิรูปองค์กร
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
ประชุมการจัดทำกรอบอัตรากำลังของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (สายสนับสนุน) วันที่ 3-4.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
งานประชาสัมพันธ์ กองกลาง สำนักงานอธิการบดี. สายงานนี้คลุมถึงตำแหน่งต่าง ๆ ที่ ปฏิบัติงานทางวิชาการประชาสัมพันธ์ ซึ่งมี ลักษณะงานที่ปฏิบัติ เกี่ยวกับการศึกษา.
ความรู้สู่การประชาสัมพันธ์งาน ด้านการศึกษา คณะวารสารศาสตร์และ สื่อสารมวลชน Knowledge Management.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
การปรับเปลี่ยนผลักดันการพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคล: Measures and Drives of Personnel work load กลุ่มที่ 2.1 ประธานกลุ่ม/ผู้นำเสนอ ผศ.ดร.อุดมศักดิ์ เห่วซึ่งเจริญ.
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข การเลื่อนเงินเดือนประการอื่น ๆ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์และวางแผนอัตรากำลัง โดย รศ.รังสรรค์ เนียมสนิท รองอธิการบดีฝ่ายแผนและสารสนเทศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วันที่ 17 สิงหาคม 2550 เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาผู้อำนวยการกองแผนงานมหาวิทยาลัยของรัฐ วันที่ 17 – 19 สิงหาคม 2550 ณ เบลล์ วิลล่า รีสอร์ท อ.หางดง จ.เชียงใหม่

ที่มา: พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547 ที่มา: พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547 มาตรา 20 ให้สภาสถาบันอุดมศึกษากำหนดกรอบของตำแหน่ง อันดับเงินเดือนของตำแหน่งและจำนวนของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาที่พึงมีในสถาบันอุดมศึกษานั้น รวมทั้งภาระหน้าที่ความรับผิดชอบของตำแหน่ง และคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง การกำหนดตามวรรคหนึ่งให้กำหนดคราวละสี่ปี โดยต้องคำนึงถึงความมีประสิทธิภาพความไม่ซ้ำซ้อน ความประหยัด และต้องสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่ ก.พ.อ. กำหนด

ม. 20 พรบ.ข้าราชการพลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษา 2547 ประสิทธิภาพ จำนวนที่พึงมี ไม่ซ้ำซ้อน ประหยัด ภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ และคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง กรอบ ของตำแหน่ง อันดับเงินเดือน ของตำแหน่ง สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ ก.พ.อ. กำหนด

กรอบแนวคิด ความสัมพันธ์ (1) - ทฤษฎีการบริหาร คน โครงสร้าง งบประมาณ ม.20 ระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2547 โครงสร้าง งบประมาณ กรอบของตำแหน่งและคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง ภาระหน้าที่ / ความรับผิดชอบ อันดับเงินเดือนของตำแหน่ง จำนวนของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาที่พึงมี ระบบงาน คราวละ 4 ปี: ประสิทธิภาพ ไม่ซ้ำซ้อน ประหยัด สงวนลิขสิทธิ์ ด้านการเผยแพร่ต้องได้รับอนุญาต

กำหนดการ ส.ค. 50 - ศึกษา ดูงาน ก.ย. 50 - นำเสนอหลักการต่อ กบบ. ส.ค. 50 - ศึกษา ดูงาน ก.ย. 50 - นำเสนอหลักการต่อ กบบ. - ระดมความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญภายใน ต.ค. 50 - ระดมความคิดเห็น – การจัดการความรู้ ระหว่างมหาวิทยาลัย - เวียนหลักเกณฑ์ วิชาการ การจัดทำคำขอ พ.ย. 50 - คณะกรรมการกลั่นกรอง วิเคราะห์คำขอ ธ.ค. 50 - เสนอผลการวิเคราะห์ รับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ม.ค. 50 - นำเสนอขอความเห็นชอบต่อ กบบ.

ขั้นตอน การจัดโครงสร้าง การกำหนดภารกิจ ภาระงาน การกำหนดตำแหน่ง ค่างาน การกำหนดจำนวนที่เหมาะสม

มหาวิทยาลัย “นวัตกรรม” วิธีการ การจัดโครงสร้าง หลักการ: ทบทวนภารกิจของมหาวิทยาลัยในปัจจุบัน และทิศทางในอนาคต ระดับการพัฒนา 2579 มหาวิทยาลัย “นวัตกรรม” 2569 2550 มหาวิทยาลัย “วิจัย” พรบ. 2541 พรบ. 2521 มหาวิทยาลัย “สอน” พรบ. 2509 2507 เวลา

การวิเคราะห์โครงสร้าง บทบาท – พันธกิจ ผลิตบัณฑิต วิจัย บริการวิชาการ ศิลปวัฒนธรรม คณะ/สำนักวิชา 4 3 2 1 ศูนย์ - สถาบัน สำนัก 4 = มากที่สุด 3 = มาก 2 = ปานกลาง 1 = น้อย

การวิเคราะห์ : พันธกิจ – โครงสร้าง ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม พันธกิจมหาวิทยาลัย ผลิตบัณฑิต วิจัย บริการวิชาการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม โครงสร้าง สนับสนุนพันธกิจทั้ง 4 ผลิตบัณฑิต วิจัย บริการวิชาการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม คณะ สำนักวิชา สถาบัน ศูนย์ สำนัก สำนักงานอธิการบดี

การจำแนกประเภทของงาน ข้อมูลผู้ปฏิบัติงานที่มีอยู่ วิธีการ การกำหนดภารกิจ ภาระงาน หลักการ: ตรวจสอบ ประเมินภารกิจในความรับผิดชอบว่ามีความจำเป็น ต้องปรับปรุง เปลี่ยนแปลงอย่างไร อำนาจหน้าที่ การจำแนกประเภทของงาน การจำแนกงานหลัก – รอง ข้อมูลผู้ปฏิบัติงานที่มีอยู่

วิธีการ การกำหนดตำแหน่ง ค่างาน โครงสร้าง ภารกิจ ภาระงาน ตำแหน่ง ค่างาน การกำหนดตำแหน่ง ค่างาน หลักการ: ให้เป็นไปตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง และหลักสมรรถนะ โครงสร้าง ภารกิจ ภาระงาน ตำแหน่ง ค่างาน จำนวนที่เหมาะสม

งานหลัก แผนผังแสดงขั้นตอนหลักของการทบทวนภารกิจ 1. งานนั้นยังจำเป็นต้องปฏิบัติอยู่หรือไม่? ยกเลิก ใช่ ไม่ใช่ 2. งานนั้นมีหน่วยงานใดปฏิบัติซ้ำซ้อนอยู่หรือไม่? 3. งานนั้นจัดเป็นหน้าที่หลักใช่หรือไม่? ใช่ ไม่ใช่ แปรรูป/จ้างเหมา/Market Test ยกเลิก/รวม/โอนงาน ไม่ใช่ ใช่ 4. งานนั้นสามารถมอบอำนาจหรือกระจายอำนาจไปให้ราชการส่วนภูมิภาคหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการได้หรือไม่? ไม่ได้ 5. งานนั้นสามารถดำเนินการโดยจัดตั้งเป็นหน่วยงานรูปแบบอื่นได้หรือไม่? ได้ โอนงาน 6. งานนั้นจำเป็นต้องดำเนินการโดยภาครัฐทั้งหมดหรือไม่? จัดตั้งเป็นหน่วยงานรูปแบบอื่น จ้างเหมา/Market Test 7. งานนั้นกำหนดภารกิจเหมาะสม ใช้อำนาจเหมาะสม จัดองค์กรเหมาะสมและใช้กำลังคนที่เหมาะสมหรือไม่? ตรวจสอบประสิทธิภาพการใช้จ่ายและกำลังคน จบการดำเนินการและทำบันทึกรายงาน

การวิเคราะห์ : โครงสร้าง – ภารกิจ หน้าที่หลัก จัดสรรอัตราตามความจำเป็นแผนยุทธศาสตร์การบริหารมหาวิทยาลัย หน้าที่รอง พิจารณาถ่ายโอน/จ้างเหมาบางส่วน แล้วจัดสรรอัตราตามความจำเป็นแผนยุทธศาสตร์บริหารมหาวิทยาลัย หน้าที่ สนับสนุน ถ่ายโอน / จ้างเหมา

การวิเคราะห์ : โครงสร้าง – ภารกิจ ตัวอย่าง หลักสูตร ป.ตรี 10 ป.โท 5 ป.เอก 2 สำนักงานคณบดี บริหารงานทั่วไป วิเคราะห์นโยบายและแผน จัดการศึกษา รักษาความสะอาด รปภ. พิมพ์เอกสาร

วิธีการ การกำหนดจำนวนที่เหมาะสม ภาระงาน สายสนับสนุน อาจารย์ หลักสูตร หลักการ: ให้มีผู้ปฏิบัติงานที่เหมาะสมกับโครงสร้าง และภารกิจ โดยให้การวิเคราะห์ภาระงาน (Workload Analysis) ภาระงาน สายสนับสนุน อาจารย์ หลักสูตร ชั่วโมงภาระงาน เกณฑ์มาตรฐาน เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ จำนวน นศ. สัดส่วนภาระงาน FTES

Mapping โครงสร้าง งบประมาณ บุคลากร นักศึกษา หลักสูตร น.บัญชี น.วิชาการเงินและบัญชี น.วิชาการพัสดุ น.วิเคราะห์นโยบายและแผน จ.บริหารงานทั่วไป บุคลากร โครงสร้าง นักศึกษา จ. บุคคล น.จัดการศึกษา น.แนะแนว น.กิจการนักศึกษา น.วิชาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตร น.วิชาการสารสนเทศ น.วิชาการโสตฯ น.วิทยาศาสตร์

จำนวนนศ.เต็มเวลา (FTES) การวิเคราะห์จำนวนผู้สอน (อาจารย์) ที่พึงมี คณะ วิชา จำนวน หลักสูตร จำนวน รายวิชา จำนวน นักศึกษา จำนวน ชั่วโมง จำนวนนศ.เต็มเวลา (FTES) จำนวนอาจารย์ = จำนวนชั่วโมงเฉลี่ยที่ใช้สอนทั้งหมด เกณฑ์จำนวนชั่วโมงต่ออาจารย์ 1 คน จำนวนอาจารย์ = จำนวน FTES เฉลี่ย เกณฑ์ FTES ต่ออาจารย์ 1 คน

จำนวนชั่วโมงที่ใช้ในการปฏิบัติงาน การวิเคราะห์จำนวนสายสนับสนุนที่พึงมี โครงสร้าง ภารกิจ ภาระงาน จำนวนชั่วโมงที่ใช้ในการปฏิบัติงาน แต่ละภารกิจ แต่ละภาระงาน จำนวนที่พึงมี = จำนวนวันที่ใช้ในการปฏิบัติงานทั้งปี 230 วัน โครงสร้างของตำแหน่ง กรอบของตำแหน่ง – คุณสมบัติ หน้าที่ ความรับผิดชอบ

(คณะ/ศูนย์-สถาบัน-สำนัก) กรอบแนวคิด ความสัมพันธ์ (2) - ทฤษฎีสถิติ สมการทั่วไป Ŷ = a + b1x1 + b2x2 + b3x3 + b4x4 จำนวนที่พึงมี (คน) ค่าคงที่ นักศึกษา (FTES) บุคลากร (คน) งบประมาณ (บาท) ตัวแปรสุ่ม (คณะ/ศูนย์-สถาบัน-สำนัก) (0,1) สมการเฉพาะคณาจารย์ Ŷ = a + b1x1

การวิเคราะห์โครงสร้าง ระดับคณะ/สำนักวิชา – อัตราพื้นฐาน ควรประกอบด้วย เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นักวิชาการศึกษา นักวิชาการนักศึกษา นักวิชาการโสตทัศนศึกษา นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักวิชาการเงินและบัญชี นักบัญชี นักวิชาการพัสดุ ตำแหน่งที่เหมาะสมกับบทบาท – พันธกิจ เช่น  นักวิทยาศาสตร์  นักวิชาการเกษตร  นักเทคนิคการแพทย์ / นักกายภาพบำบัด  นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์

การวิเคราะห์โครงสร้าง ระดับศูนย์-สถาบัน-สำนัก – อัตราพื้นฐาน ควรประกอบด้วย เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักวิชาการเงินและบัญชี นักบัญชี นักวิชาการพัสดุ ตำแหน่งที่เหมาะสมกับบทบาท – พันธกิจ เช่น  นักวิชาการศึกษา  นักวิชาการคอมพิวเตอร์  นักวิชาการสารสนเทศ  เจ้าหน้าที่วิจัย / นักวิจัย

การวิเคราะห์อัตราสายสนับสนุน พิจารณาปัจจัยสำคัญเป็นตัวพิจารณา เช่น ตำแหน่ง ปัจจัยสำคัญ นักบัญชี งบประมาณรวม นักวิชาการเงินและบัญชี นักวิชาการพัสดุ งบดำเนินการ + งบลงทุน นักวิชาการศึกษา นักกิจการนักศึกษา จำนวนนักศึกษา นักแนะแนวและอาชีพ นักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ

การวิเคราะห์อัตราสายผู้สอน ข้อเสนอเพิ่มเติม การวิเคราะห์อัตราสายผู้สอน ควรใช้ทั้ง 2 ปัจจัย คือ 1. จำนวน FTES 2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้สอน เป็นตัวพิจารณา (ถ่วงน้ำหนัก)

Q & A rannia@kku.ac.th http://gotoknow.org/blog/porsonal Filename: การวิเคราะห์และวางแผนอัตรากำลัง.ppt