วิชาชีพและจริยธรรมทางการตลาด วิชาชีพด้านการตลาด จริยธรรมทางการตลาด การตลาดเพื่อสังคมและความรับผิดชอบ ของนักการตลาดต่อสังคม Marketing Thonburi University
วิชาชีพด้านการตลาด การจัดการผลิตภัณฑ์และตรายี่ห้อ การขายและการจัดการด้านการขาย การค้าปลีก การโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ การกระจายตัวสินค้าและลอจิสติกส์ การตลาดบริการและลูกค้าสัมพันธ์ การวางแผนและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ การวิจัยการตลาด การตลาดในองค์การที่ไม่มุ่งหวังกำไร
จริยธรรมทางการตลาด หลักการ (Principles) ค่านิยม (Values) และมาตรฐาน (Standards) ในการประกอบอาชีพของนักการตลาด การตัดสินว่าการกระทำต่าง ๆ ถูกต้องตามหลักจริยธรรมหรือไม่ เป็นเรื่องที่ตอบได้ยาก มาตรฐานทางจริยธรรมของแต่ละบุคคลแตกต่างกัน นอกจากนี้ ยังขึ้นอยู่กับแต่ละสังคม การปฏิบัติที่ถูกต้องตามกฎหมาย อาจไม่ถูกต้องตามหลักจริยธรรม
จริยธรรมทางการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ ด้านราคา ด้านการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านการวิจัยการตลาด
ประเภทของผลิตภัณฑ์ตามแนวคิดการตลาดเพื่อสังคม สูง ต่ำ ความพึงพอใจของผู้บริโภคที่เกิดขึ้นในทันที ผลประโยชน์สำหรับ ผู้บริโภคในระยะยาว ผลิตภัณฑ์ที่มีประโยชน์ (Salutary Products) ผลิตภัณฑ์ที่พึงปรารถนา (Desirable Products) ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ดี (Deficient Products) ผลิตภัณฑ์ที่น่าหลงไหล (Pleasing Products)
ระดับขั้นของความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจ ทางเศรษฐกิจ ธุรกิจจะต้องมีกำไร ความรับผิดชอบ ตามกฎหมาย ธุรกิจจะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ความรับผิดชอบ ต่อวิชาชีพ ธุรกิจจะต้องมีจรรยาบรรณ/จริยธรรม ความรับผิดชอบ ต่อสังคม ธุรกิจจะต้องอุทิศทรัพยากรต่อสังคม และสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีแก่ประชาชน